Page 52 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 52

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   47

                     1. พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม
                อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยูในระดับปฏิบัติทุกครั้ง

                     2. ปจจัยชีวสังคม ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การรับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม
                และแรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของ
                ผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

                กรอบแนวคิดการวิจัย

                ตัวแปรอิสระ
                        1.ปจจัยดานชีวสังคม
                        -เพศ           -อายุ



                          -BMI           -ระดับการศึกษา                   ตัวแปรตาม


                       2.ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม
                                                                     พฤติกรรมการปองกันโรค

                                                                     ขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุใน
                3.การรับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม             ชุมชนทาบอ ตําบลแจระแม

                      4.แรงสนับสนุนทางสังคม                          อําเภอเมือง จังหวัด
                      -แรงสนับสนุนจากครอบครัว                        อุบลราชธานี

                      -แรงสนับสนุนจากเพื่อน
                      -แรงสนับสนุนจากเจาหนาที่
                      สาธารณสข


                วิธีดําเนินการวิจัย
                        รูปแบบการวิจัย
                        เปนการศึกษาความสัมพันธ (correlational research)
                        ประชากร

                        ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนประชากรแบบจํากัด (Finite Population) โดยมี
                การจําแนกตามลักษณะของประชากรเปนเอกพันธ (Homogeneity) ไดแก กลุมประชากร
                ผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปทั้งหมดที่อาศัยอยูในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง
                จังหวัดอุบลราชธานี ทั้งหมู1 และหมู 2 จํานวน 657 คน ประชากรผูสูงอายุหมู 1 จํานวน 81 คน

                เพศชาย 34 คน เพศหญิง 47 คน ประชากรผูสูงอายุหมู 2 จํานวน 576 คน เพศชาย 259 คน
                เพศหญิง 317 คน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57