Page 53 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                    กลุมตัวอยาง
                     ในการศึกษาครั้งนี้ไดสุมกลุมตัวอยางจากผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปทั้งหมดที่

             อาศัยอยูในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ทั้งหมู 1 และหมู 2
             จํานวน 657 คน การคัดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random
             Sampling)
                     การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง (Samplesize) ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยกําหนด
             ขนาดของกลุมตัวอยาง โดยการใชสูตรคํานวณขนาดตัวอยางของเครซี่และมอรแกน (Krejcie

             and Morgan, 1970) และกําหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95% คือยอมรับความคลาดเคลื่อนได
             5% ขนาดของกลุมตัวอยางคํานวณได ดังนี้
                                          n =        x NP (1 - P)
                                                    2
                                                 e  (N – 1) + x P(1 - P)
                                                            2
                                                2

                                   เมื่อ   n = ขนาดของกลุมตัวอยาง
                                          N = ขนาดของประชากร

                                          E = ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางที่ยอมรับได (0.05)
                                           2
                                          x = คาไคสแควรที่ df เทากับ 1 และระดับความเชื่อมั่น 95%
                                                2
                                              (x = 3.841)
                                          P = สัดสวนของลักษณะที่สนใจในประชากร (p = 0.5)

                                          n =           3.841x657x0.5x0.5
                                                 (0.05) x (657-1) + 3.841x0.5x0.5
                                                    2
                                          n = 630.88425
                                                 2.60025

                                          n = 242.62445
                                          n = 243

                     ดังนั้น ขนาดของกลุมตัวอยางที่ตองการเทากับ 243 คน

                     เลือกตัวแทนในแตละเพศ โดยใชวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ให
             ไดกลุมตัวอยาง โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค จํานวน 243 คน เพศชาย 109 คน เพศหญิง 134
             คน การสุมตัวอยาง อยางงาย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก (Lottery)

             โดยมีรายชื่อของกลุมตัวอยางเรียงตามบัญชีรายชื่อที่ไดมาจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
             หนองแก อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จากนั้นเขียนหมายเลขกํากับกลุมตัวอยางแตละ
             รายชื่อกอนแลวจึงทําการจับฉลากขึ้นมาโดยที่จะไมสุมกลุมตัวอยางที่ถูกสุมแลวขึ้นมาอีก
             (Simple Random Sampling With Out Replacement)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58