Page 51 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 51

46  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             ขอมูลจํานวนประชากรผูสูงอายุที่มีอายุระหวาง 60-100 ป ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัด
             อุบลราชธานี พบวามีจํานวนประชากรผูสูงอายุเพศชายจํานวน 708 คน เพศหญิง 816 คน รวม

             ประชากรผูสูงอายุในตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ทั้งหมด 1,524 คน ซึ่งมี
             ผูสูงอายุเพศหญิงมากกวาเพศชาย (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี, 2559) ซึ่ง
             ผูสูงอายุเปนวัยที่มีความเสี่ยงเกิดโรคขอเขาเสื่อม อาจเนื่องมาจากการเสื่อมของรางกายตามวัย
             พฤติกรรมในกิจวัตรประจําวัน เชน การนั่งยอง ๆ การนั่งพับเพียบ การนั่งคุกเขา การขึ้นลงบันได
             และกิจกรรมในการใชขอเขามาก ๆ ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุมแมบานมีโอกาสเสี่ยงสูงมากกวา

             ผูชาย เนื่องจากความแข็งแรงของกลามเนื้อสวนขานอยกวาผูชาย
                     จากการศึกษาของเสาวนีย สิงหา, และคณะ (2558) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรม
             การดูแลสุขภาพของตนเองของผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อม กลุมตัวอยางเปนผูสูงอายุขอเขา

             เสื่อมที่มีอายุ 60 ปขึ้นไปทั้งเพศชายและเพศหญิงจํานวน 126 ราย โดยประชากรที่ใชในการวิจัยนี้
             เปนผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมที่อาศัยประจํานานอยางนอย 6 เดือน ในเขตเทศบาลตําบล
             แพรกษา อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ พบวาปจจัยที่มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทาง
             สถิติที่ระดับ 0.05 และ .001 กับพฤติกรรมการดูแลตนเองไดแก สรีระขอเขา ดัชนีมวลกาย ผูดูแล

             หลัก การปรับสภาพที่อยูอาศัย และความเครียด ซึ่งจะเห็นไดวาปจจัยที่มีความสัมพันธที่ทําใหเกิด
             ขอเขาเสื่อม ไดแก สรีระขอเขา ดัชนีมวลกาย ผูดูแลหลัก การปรับสภาพที่อยูอาศัย และ
             ความเครียด ซึ่งมีความสัมพันธทางดานความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การรับรูความรุนแรงของ
             โรคขอเขาเสื่อม แรงสนับสนุนทางดานสังคม ตอพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมอยางไร

                     ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวปจจัยที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการปองกันโรค
             ขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมี
             ประชากรผูสูงอายุรวมทั้งหมด 657 คน เปนเพศชาย 293 คน เพศหญิง 364 คน โดยใชแนวคิด
             เกี่ยวกับความรูของโรคขอเขาเสื่อม การรับรูความรุนแรงโรคขอเขาเสื่อม และแนวคิดทางดานแรง

             สนับสนุนทางสังคม ผลการศึกษาสามารถนํามาใชประโยชนตอการพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการ
             ดําเนินงานสุขศึกษา เพื่อปองกันการเกิดโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในลําดับตอไป

             วัตถุประสงคการวิจัย

                  1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบล
             แจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
                  2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยชีวสังคม ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การรับรู
             ความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม และแรงสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขา

             เสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

             สมมุติฐานการวิจัย
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56