Page 50 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 50
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018 45
This research aimed to 1) study of Behaviors for Prevention of Osteoarthritis
Among Elderly in Ban Tha Bo Chaerama Subdistrict Mueang District Ubon Ratchathani
Province; and 2) study of relationship between bio- social factors Knowledge of
Osteoarthritis perceived severity of Osteoarthritis and Social Support on Behaviors for
Prevention of Osteoarthritis Among Elderly in Ban Tha Bo Chaerama Subdistrict
Mueang District Ubon Ratchathani Province. The subjects were 243 Elderly Population
Male and Female age up to 60 years old in Ban Tha Bo Chaerama Subdistrict Mueang
District Ubon Ratchathani Province. Sampling was done by Simple Random Sampling
technique. The instrument was a test and a questionnaire. The research finding were
as follows: Prevention of Osteoarthritis Among Elderly in Ban Tha Bo Chaerama
Subdistrict Mueang District Ubon Ratchathani Province were rated at do every time
level ( X = 2.89, SD=0.26). The Relationship Between 9 Independence Factors and
Behaviors for Prevention of Osteoarthritis Among Elderly in Ban Tha Bo Chaerama
Subdistrict Mueang District Ubon Ratchathani Province had linear correlation
coefficient from -.047 to .264. Three Independence Factors significant at the 0.01
level were as follows: Knowledge of Osteoarthritis (r = .237) Support from Friends
(r = .165) and Support from Public Health Officials (r = .264). Independence Factor
significant at the 0.05 level was Support from Family ( r = .145)
Keywords: Behaviors for Prevention, Osteoarthritis, Elderly
บทนํา
ปจจุบันประเทศไทยกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ โรคขอเขาเสื่อมเปนปญหาสุขภาพที่พบ
บอย 1 ใน 5 ของผูสูงอายุไทย รองลงมาจากโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และภาวะ
ซึมเศรา (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข, 2558) ในชวงป 2554-2557
พบวามีผูปวยโรคขอเขาเสื่อมมารับบริการในหนวยบริการระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติจาก
241,135 ราย เปน 274,133 ราย เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปละ 8,250 ราย และในชวงป 2557-2559 พบวา
มีผูปวยโรคขอเขาเสื่อมที่ไดรับการผาตัดเปลี่ยนขอเขา จํานวน 6,353 ราย 8,690 ราย และ
10,736 ราย ตามลําดับ คิดเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 23 ตอป อีกทั้งประเทศไทยกําลังเขาสูสังคม
ผูสูงอายุ จึงมีแนวโนมทั้งจํานวนผูปวยโรคขอเขาเสื่อม และการไดรับการผาตัดเปลี่ยนขอเขา
เพิ่มขึ้นดวย (สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ, 2560)
จังหวัดอุบลราชธานีเปนจังหวัดหนึ่งที่สถานการณโรคขอเขาเสื่อมมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
เรื่อยๆ โดยป พ.ศ.2556-2558 พบรอยละ 30.1, 32.4 และ 43.1 ตามลําดับ ถึงแมวาในปจจุบัน
บุคคลมีการรับรูและความเขาใจในเรื่องโรคมากขึ้น (บุษพร วิรุณพันธุ, 2561) จากการสํารวจ