Page 45 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 45

40  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร พบวาผูสูงอายุจะมีการหดรัดตัว และ
             การเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร และกระเพาะอาหารลดลงและชาลง รวมทั้งการหลั่งกรดใน

             กระเพาะอาหารและ intrinsic factor ลดลง เปนผลใหเกิดการดูดซึมวิตามินบีสิบสอง และ
             แคลเซียมลดลง นอกจากนี้ พื้นผิวการดูดซึมสารอาหารที่เยื่อบุลําไสเล็ก ตลอดจนการหลั่งนํ้า
             ยอยจากตับออน และการไหลเวียนของเลือดไปที่ตับของผูสูงอายุจะลดนอยลงดวย (Baker,
             2007) ปจจัยการเปลี่ยนแปลงเหลานี้สงผลตอภาวะโภชนาการ โดยโรคประจําตัวที่พบบอย คือ
             ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขขออักเสบ/ขอเสื่อม ผูปวยเหลานี้มักมีการใชยาหลายขนาน

             รวมกันจากภาวะความเจ็บปวยเรื้อรัง ซึ่งปจจัยทางสุขภาพดังกลาวอาจเปนสาเหตุที่ทําให
             ผูสูงอายุมีความเสี่ยงตอการขาดสารอาหารได สอดคลองกับการศึกษาที่ผานมาที่พบวาภาวะ
             สุขภาพกายเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผูสูงอายุทําใหความอยาก

             อาหารลดลง สงตอตอภาวะโภชนาการของผูสูงอายุได (Baker, 2007) ในการศึกษาครั้งนี้พบวา
             ผูสูงอายุสวนใหญมีรายไดตอเดือนนอยและไมมีเงินเก็บ ผูสูงอายุกลุมนี้จําเปนตองอดออมทําให
             ไมสามารถเลือกซื้ออาหารมารับประทานได ซึ่งการศึกษาที่ผานมาที่พบวาฐานะการเงินของ
             ผูสูงอายุมีความสัมพันธกับภาวะโภชนาการของผูสูงอายุ นอกจากนี้พบวาผูสูงอายุที่มี

             ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันลดลงโดยเฉพาะการเคลื่อนไหว ทําใหมีความ
             ยากลําบากในการจัดหาอาหาร และรับประทานอาหาร ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ พบวา รอยละ
             68.2 ตองการความชวยเหลือในการทํากิจวัตรประจําวัน เชน การชวยเหลือเพื่อเตรียมและจัดหา
             อาหาร สอดคลองกับการศึกษาที่ผานมาที่พบวาภาวะโภชนาการ มีความสัมพันธกับ

             ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัติ ประจําวัน (r=0.55; p < 0.001) (Cereda, 2012) นั่นคือ
             ผูสูงอายุที่ มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันตํ่า จะมีภาวะโภชนาการตํ่า รวมทั้ง
             สถานการณความไมสงบ ที่มีความรุนแรง อาจทําใหวิถีการดําเนินชีวิตของคนที่อาศัยในพื้นที่
             เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนสวนใหญ หลีกเลี่ยงการออกจากบานไปยังที่ชุมชน เชน ตลาด เพื่อหา

             ซื้อสินคาและอาหารมาบริโภคตามความตองการ และมักเปนการซื้อกักตุนไวใชเปนสัปดาห และ
             ไมใช เวลาในการจับจายนานเพื่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน ปจจัยเหลานี้อาจสงผล
             กระทบตอภาวะโภชนาการของผูสูงอายุไดเชนกัน ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคลองกับการศึกษาที่
             พบวาผูสูงอายุเปนกลุมเสี่ยงตอภาวะทุพโภชนาการและพบภาวะขาดสารอาหารในผูสูงอายุ

             (Kuzuya, 2005)

             สรุปและเสนอแนะ
                     การวิจัยครั้งนี้เปนการสํารวจภาวะโภชนาการของผูสูงอายุที่อาศัยอยูในเขตเมืองผลการ

             คัดกรองภาวะโภชนาการ พบวา หนึ่งในสามของกลุมตัวอยางผูสูงอายุทั้งหมดอยูในกลุมเสี่ยงตอ
             การเกิดภาวะทุพโภชนาการ และเกินครึ่งหนึ่งของกลุมเสี่ยงมีภาวะเสี่ยงตอการเกิดภาวะทุพ
             โภชนาการ ดังนั้นบุคลากรสุขภาพและบุคลากรในหนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดกิจกรรมการ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50