Page 41 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 41
36 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018
สวนที่ 2 แบบประเมินภาวะโภชนาการ Mini Nutritional Assessment (MNA®)
พัฒนาโดยศูนยวิจัยเนสเลห ประเทศสวิตเซอรแลนดและแปลเปนภาษาไทย โดยสถาบันวิจัย
โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล MNA® (อรพินท บรรจง, 2548) เปนเครื่องมือที่ไดรับการ
ยอมรับและถูกนํามาใชในการประเมินภาวะโภชนาการของผูสูงอายุทั้งในกลุมที่พักรักษาตัว
อยูในโรงพยาบาล สถานบริบาลเพื่อการดูแลระยะยาวสําหรับผูสูงอายุและในชุมชนทั้งใน
ตางประเทศและประเทศไทย เนื่องจากเครื่องมือผานการตรวจสอบความถูกตอง ความ
นาเชื่อถือ และความไวในการประเมินภาวะโภชนาการของผูสูงอายุอยูในระดับสูง มีคาความ
เชื่อมั่น Cronbach’s alpha ไดคาเทากับ 0.8317 แบบประเมินภาวะโภชนาการ MNA®
ในผูสูงอายุสามารถใชคนหากลุมเสี่ยงและขาดสารอาหารในชุมชนไดอยางรวดเร็ว รวมทั้ง
สามารถแยกผูที่ขาดอาหารจากผูที่มีภาวะโภชนาการปกติไดชัดเจน ผูวิจัยไดนํามาทดลองใช
ในผูสูงอายุจํานวน 30 คนไดคา Cronbach’s alpha เทากับ 0.75 แบบประเมินภาวะ
โภชนาการของผูสูงอายุ MNA® มีจําานวน 18 ขอ คําถามทุกขอจะมีคะแนนกํากับ คะแนน
สูงสุด 30 คะแนน แบงเปน 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 เปนการคัดกรองความเสี่ยงขาด อาหาร
(Mini Nutritional Assessment- Short Form; MNA®-SF) ตั้งแตขอ 1-6 (14 คะแนน)
และสวนที่ 2 เปนการประเมินภาวะโภชนาการ ตั้งแตขอ 7-18 (16 คะแนน) การประเมิน
แบงออกเปน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ใหผูสูงอายุทุกคนตอบแบบประเมิน สวนที่ 1 จากนั้นให
คิดคะแนน หากคะแนนการคัดกรองได 12 คะแนนหรือมากกวาจัดวาเปนกลุมไมเสี่ยง และไม
จําเปนตองถามตอในสวนที่ 2 แตหากได 11 คะแนนหรือนอยกวา หมายถึง ผูสูงอายุมีโอกาส
เสี่ยงขาดอาหาร จึงดําเนินการขั้นตอนที่ 2 ตอและนําคะแนนที่ไดทั้งหมดมารวมกันแลว
เปรียบเทียบภาวะโภชนาการตามเกณฑคะแนน MNA® ที่ใชแยกผูสูงอายุออกเปน 3 กลุม
คือ คะแนนที่ได >23.5 คะแนน เปนกลุมปกติมีภาวะโภชนาการเพียงพอ คะแนน 17-23.5
เปนกลุมที่เสี่ยงตอภาวะทุพโภชนาการ และผูที่ไดคะแนน <17 เปนกลุมขาดสารอาหาร
วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
เมื่อโครงการวิจัย ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรม วิทยาลัยพยาบาลและ
สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา คณะผูวิจัยทําการลงพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมขอมูล โดย
การใชแบบสอบถาม การบันทึกและใหทดลองสัมภาษณกับผูสูงอายุที่มี ลักษณะคลายกลุม
ตัวอยางจํานวนอยางนอย 2 คน หรือจนผูวิจัยและผูชวยวิจัยมีความมั่นใจในการใชเครื่องมือ
จากนั้นคัดเลือกกลุมตัวอยางเพื่อวางแผนนัดหมาย ในการสัมภาษณตามรายชื่อและที่อยูของกลุม
ตัวอยาง ที่ไดรับจากผูประสานงาน ทีมผูชวยวิจัยยึดหลักการ พิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง โดย
แนะนําตนเอง ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอน และสิทธิในการเขารวมหรือ
ปฏิเสธการเขารวมในการวิจัยแกผูสูงอายุ เมื่อผูสูงอายุยินดีเขารวมในการวิจัย ผูชวยวิจัย