Page 40 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 40
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018 35
ของโรคและลดผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีใหผูสูงอายุ (Naber, et
al, 1997)
ภาวะทุพโภชนาการพบไดบอยในผูปวยที่รับรักษาตัวไวในโรงพยาบาลตั้งแตรอยละ 33-
50 (Chantrasakul, 1989) โดยพบทั้งภาวะขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการเกิน โดยภาวะ
ขาดสารอาหารพบไดถึงรอยละ 44 ของผูสูงอายุทางอายุรกรรมในโรงพยาบาลและรอยลด 50
ของผูสูงอายุทางศัลยกรรมในโรงพยาบาล (ประเสริฐ อัสสันตชัย, 2545) ซึ่งภาวะทุพโภชนาการ
สงผลตอความรุนแรงโรคเพิ่มมากขึ้น เกิดภาวะแทรกซอนตาง ๆ เชน การติดเชื้อ นําไปสูการ
ตอบสนองตอผลลัพธการรักษาและการพยากรณโรคไมดี ทําใหอัตราการตายสูงขึ้น ระยะเวลาที่
ตองอยูรับการรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้นและคาใชจายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น (Naber,
et al, 1997) ภาวะทุพโภชนาการในผูสูงอายุมีความเกี่ยวของกับปจจัยหลายดาน ไดแก ปจจัย
ดานรางกาย จิตสังคม ภาวะสุขภาพ ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อในการบริโภคอาหารและ
ความยากจน การศึกษาภาวะโภชนาการและบริโภคนิสัยของผูสูงอายุในประเทศไทยที่ผานมา
พบวาเปนการศึกษา ภาวะโภชนาการของผูสูงอายุบริโภคนิสัยของผูสูงอายุ ในชุมชนใน
ศูนยบริการสาธารณสุขชุมชนใน สถานสงเคราะหคนชราในชมรมผูสูงอายุในชุมชนแออัดแตยังไม
พบรายงานการศึกษาภาวะ โภชนาการของผูสูงอายุในเขตเมือง ดังนั้นในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจึง
สนใจศึกษาภาวะโภชนาการของผูสูงอายุในเขตเมือง เพื่อจะไดทราบปญหาทางภาวะโภชนาการ
ของผูสูงอายุ และเปนแนวทางในการแกไขและสงเสริมภาวะโภชนาการ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต
ใหแกผูสูงอายุซึ่งเปนบุคลากรที่มีคุณคาแกสังคมและเตรียมพรอมสําหรับการกาวสูสังคมผูสูงอายุ
อยางสมบูรณของประเทศไทย
วัตถุประสงค
เพื่อสํารวจภาวะโภชนาการของผูสูงอายุในเขตเมือง
วิธีการดําเนินการวิจัย
กลุมตัวอยางเปนผูที่มีอายุมากกวา 60 ปขึ้นไปที่พักอาศัยอยูในเขตเมือง กําหนดขนาด
กลุมตัวอยางโดยใชสูตรคํานวนของยามาเน ประชากรสูงอายุมากกวา 100,000 คน ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95 และขนาดความคาดเคลื่อน ±.05 ไดขนาดของ กลุมตัวอยาง 400 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 2 สวน ดังนี้
สวนที่ 1 แบบบันทึกขอมูลสวนบุคคลและ ขอมูลดานสุขภาพจํานวน 10 ขอ ไดแก อายุ
เพศ สถานภาพสมรส ศาสนา ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ของผูสูงอายุ สถานภาพทาง
การเงิน โรคประจําตัว และความตองการความชวยเหลือในการทํากิจวัตร ประจําวัน