Page 44 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 44

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   39

                        2. ภาวะโภชนาการของผูสูงอายุ
                        ผลการประเมิน MNA® สวนที่ 1 การคัดกรอง ความเสี่ยงตอการขาดอาหารของกลุม

                ตัวอยางผูสูงอายุ 400 คน พบวา ผูสูงอายุกลุมตัวอยาง (n = 254) ไมเสี่ยงตอการขาดอาหาร
                และกลุมตัวอยางที่เหลือ (n = 146) มีภาวะโภชนาการอยูในเกณฑเสี่ยงตอการขาดอาหาร จาก
                การศึกษาพบวาผูสูงอายุสวนใหญมีภาวะโภชนาการปกติรอยละ 63.5 รองลงมามีภาวะเสี่ยงตอ
                การขาดสารอาหารรอยละ 27.8และมีน้ําหนักตัวเกิน รอยละ 36.5 (ตารางที่ 3)


                ตารางที่ 3 การคัดกรองความเสี่ยงตอการขาดอาหารของผูสูงอายุ จําแนกตามระดับคะแนน
                                    ภาวะโภชนาการ                         จํานวน       รอยละ

                 - ไมเสี่ยงตอการขาดอาหาร (12 - 14 คะแนน)                254          63.5
                 - เสี่ยงตอการขาดอาหาร (≤11 คะแนน)                       146          36.5


                        เมื่อประเมินภาวะโภชนาการของกลุมตัวอยาง ผูสูงอายุในกลุมเสี่ยงนี้ (n = 146 ) ใน
                สวนที่ 2 พบวา รอยละ 51.4 (n = 75) อยูในระดับคะแนนมีความเสี่ยงตอภาวะทุพโภชนาการ
                รองลงมาอยูในระดับมี ภาวะโภชนาการเพียงพอ (รอยละ 30.8, n = 45) และระดับขาดอาหาร
                (รอยละ 17.8, n = 26) ตามลําดับ (ตารางที่ 4)


                ตารางที่ 4 ภาวะโภชนาการของผูสูงอายุกลุมเสี่ยง จําแนกตามระดับคะแนน (n = 146)
                                     ภาวะโภชนาการ                         จํานวน      รอยละ

                 มีภาวะโภชนาการเพียงพอ (>23.5 คะแนน)                        45         30.8
                 เสี่ยงตอภาวะทุพโภชนาการ (17-23.5 คะแนน)                   75         51.4
                 ขาดอาหาร (<17คะแนน)                                        26         17.8


                อภิปรายผล
                         จากการคัดกรองภาวะโภชนาการดวยแบบประเมิน MNA® ในแบบประเมินสวนที่ 1
                พบวา รอยละ 36.5 จัดอยูในกลุมเสี่ยงตอการขาดสารอาหาร และเมื่อประเมินภาวะโภชนาการ

                ตอในกลุมเสี่ยง พบวาสวนมาก (รอยละ 51.4) อยูในระดับเสี่ยงตอการขาดสารอาหารหรือภาวะ
                ทุพโภชนาการ รองลงมาอยู ในระดับภาวะโภชนาการเพียงพอ (รอยละ 30.8) และระดับขาด
                อาหาร (รอยละ 17.8) ตามลําดับ ทั้งนี้อาจเนื่องจากเมื่อเขาสูวัยสูงอายุ ผูสูงอายุจะประสบกับ
                การเปลี่ยนแปลงของรางกายที่มีผลตอการบริโภคอาหาร ไดแก 1) การมีปญหาสุขภาพปากและ

                ฟน เชน ฟนผุ หรือการใชฟนปลอม ทํา ใหประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวลดลง (Baker, 2007)
                พบวามากกวาครึ่งหนึ่งของผูสูงอายุไทยมีจํานวนฟนแทเหลือนอยกวา 20 ซี่ และในจํานวนนี้กวา
                ครึ่งหรือรอยละ 70.9 ไมใส ฟนปลอม ทําใหมีปญหาในการบดเคี้ยวอาหาร จึงอาจหลีกเลี่ยงการ
                รับประทานเนื้อสัตว ทําใหไดรับสารอาหาร ไมครบถวนตามหลักโภชนาการ (Pirlich, 2001)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49