Page 20 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 20
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018 15
การชวยเหลือทางดานสังคม นอกจากจะประกอบดวย การชวยเหลือจากครอบครัวซึ่ง
เปนหนวยที่เล็กที่สุดในสังคมและมีความใกลชิดกับผูปวยมากที่สุด และความชวยเหลือจากชุมชน
ที่ผูปวยอยูอาศัย ดังที่ไดกลาวมาแลวในเรื่องการมีสวนรวมของครอบครัว และการมีสวนรวมของ
ชุมชนแลว ยังหมายถึงการมีสวนรวมของบุคลากรในทีมสุขภาพในการดูแลผูปวยอีกดวย
6. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางเสริมความเขมแข็งของชุมชน
“ชุมชนเขมแข็ง”หมายถึงชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปญหาของตนเองได
ในระดับหนึ่ง ดวยการมีผูนําที่มีความสามารถ มีการเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่องบนพื้นฐาน
วัฒนธรรม ความเชื่อ คุณคาดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟอกันและกัน โดย
แตละชุมชนไดใชศักยภาพของตนเองเขาคลี่คลายและจัดการปญหาไดดวยตนเองภายใตความ
รวมมือและสนับสนุนจากองคกรภายนอก
ลักษณะของชุมชนเขมแข็ง ชุมชนที่มีความเขมแข็งมีลักษณะที่สําคัญดังนี้คือ
- สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมันในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแกไขปญหาและ
พัฒนาชีวิตความเปนอยูของตนเองและสมาชิกของชุมชนพรอมที่จะรวมกันจัดการกับปญหาของ
ตนและชุมชน
- มีกระบวนการของชุมชนที่มีการเคลื่อนไหวอยางตอเนื่องจน เปนวิถีของชุมชนภายใต
การสนับสนุนของผูนําองคกรชุมชน ในลักษณะเปดโอกาสใหกับสมาชิกทั้งมวลเขามามีสวนรวม
โปรงใส และพรอมที่จะใหตรวจสอบ
- สมาชิกทุกคนมีสวนรวมในการประเมินสถานการณของชุมชนกําหนดวิสัยทัศนรวม
รวมคิดตัดสินใจดําเนินงานติดตามและประเมินผลการแกปญหาและการพัฒนาของชุมชนผาน
กระบวนการชุมชน
- สมาชิกชุมชนเกิดการเรียนรูผานการเขารวมในกระบวนการของชุมชน
- มีแผนของชุมชนที่ประกอบดวยการพัฒนาทุกๆ ดานของชุมชน ที่มุงการพึ่งตนเองเอื้อ
ประโยชนตอสมาชิกชุมชนทุก ๆ คนและมุงหวังการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนการพึ่งความชวยเหลือ
จากภายนอกเปนการพึ่งเพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดในที่สุดไมใชการพึ่งพาตลอดไป
- มีเครือขายความรวมมือกับภาคีการพัฒนา อาจเปนหมูบานชุมชนอื่น ๆ ทองถิ่นภาค
ราชการ องคกรเอกชน นักธุรกิจ นักวิชาการ และอื่นๆ ในลักษณะของการมีความสัมพันธที่เทา
เทียมกัน
อยางไรก็ตาม การทําใหชุมชนเขมแข็ง ไมสามารถทําไดโดยการสรางจาก
บุคคลภายนอกชุมชน หรือทําโดยการสอน การฝกอบรม ชุมชนที่เขมแข็งจะมีกระบวนการใน
การจัดการของชุมชน มีการเรียนรูรวมกัน มีกิจกรรมเพิ่มคุณคาทุนทางสังคมและเศรษฐกิจของ
คนในชุมชน ภายใตระบบความสัมพันธระหวางคนในชุมชน เปนเครือขายชุมชน และมีการขยาย
พันธมิตรออกไปนอกชุมชนในลักษณะสรางความสัมพันธ ดังนั้น สมาชิกในชุมชนจึงตองรวมกัน