Page 17 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 17

12  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             2545 อางถึงใน นิรมล เมืองโสม, 2553) 1) การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร โดยที่อาสาสมัคร ซึ่ง
             การมีสวนรวมสามารถกระตุน และสรางภาวะผูนําใหเกิดขึ้นในชุมชน นอกจากนี้ยังทําใหผูนํา

             ตามธรรมชาติ มีทิศทางในการแกไขปญหาดวยตนเอง ตลอดจนริเริ่มที่จะทาใหเกิดสิ่งที่ชุมชน
             อยากใหเกิดขึ้นเพื่อความเปนอยูที่ดีขึ้นของคนในชุมชน 2) เกิดการเรียนรู และแลกเปลี่ยน
             ประสบการณของคนในชุมชน ทําใหประชาชนไดรับองคความรูใหม มีการแลกเปลี่ยนภูมิปญญา
             ชาวบานกับวิทยาการสมัยใหม มีการถายทอด แลกเปลี่ยนประสบการณในการทํางาน 3)เกิดการ
             สรางเครือขายระหวางภาครัฐ องคกรเอกชน และชุมชน ทําใหเกิด “พหุภาคี” ในการทํางานเพื่อ

             พัฒนาในดานตาง ๆ ที่เปนประโยชนอยางตอเนื่องและยั่งยืนตอชุมชน 4) ทําใหเกิดการจัด
             กิจกรรมอันเปนประโยชนตอชุมชนรวมกัน เกิดการรับรูปญหาของชุมชนศึกษาแนวทางแกไข
             ปญหาของชุมชน มีการบริการจัดการทรัพยากรในชุมชน เพื่อทํากิจกรรมรวมกัน รวมถึงมีการ

             สนับสนุนดานกําลังกาย ทรัพย ความคิด หรือการระดมทุนเพื่อมาใชในกิจกรรมที่เปนประโยชน
             ตอชุมชน 5) ทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติและสรางจิตสานึกของขาราชการในการพัฒนา
             แบบยั่งยืน ปรับเปลี่ยนทัศนคติของคนในชุมชนใหลุกขึ้นมาแกไขปญหา พัฒนาชุมชน ดวยภูมิ
             ปญญาของตนเอง 6) เกิดการจัดสรรงบประมาณจากองคกรทองถิ่น และองคกรภาครัฐ เพื่อ

             สนับสนุนการดําเนินงานของชุมชน มีการระดมทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อใหเกิดชุมชนเขมแข็ง
                     จากการศึกษาวรรณกรรม พบวา ชุมชนไดมามีบทบาทในการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังใน
             หลายรูปแบบ เชน ดานการสนับสนุนองคประกอบในการสงเสริมการออกกําลังกาย การคัดเลือก
             ผูนําออกกําลังกาย มีแกนนําออกดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวานเบื้องตนในชุมชน อีกทั้งมีการ

             พัฒนาทักษะการดูแลผูปวยเบาหวานในกลุม อสม. มีบอรดความรูเรื่องโรคเบาหวานและความ
             ดันโลหิตสูงในชุมชน นอกจากนี้ ในระดับองคกรปกครองในพื้นที่ที่อยูในชุมชน คือ มีการจัดทํา
             และแผนงานดานการสงเสริมสุขภาพ ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และจัด
             งบประมาณสนับสนุนองคประกอบในการดูแลสุขภาพของผูปวย เปนตน (ระพีพร ลาภา, 2554:

             สุนทรี เชยชุม, 2552) ดังนั้น การสงเสริมใหครอบครัวและชุมชนไดทํางานรวมกันในการดูแล
             ผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงถือวาควรกระทําอยางยิ่ง ทั้งนี้เพื่อใหทั้งผูปวย
             เบาหวาน ครอบครัวและชุมชนอยูรวมกันอยางมีความสุขและผูปวยสามารถควบคุมระดับน้ําตาล
             ในเลือดและความดันโลหิตไดดี ไมเกิดภาวะแทรกซอนและสามารถพึ่งตนเองได

                     4. แนวคิดเกี่ยวกับวิถีชุมชน
                     วรชัย ทองคําฟู (2551) กลาววา วิธีชุมชน เปนการอยูรวมกันที่มีการพึ่งพิงการใช
             ทรัพยากรภายในชุมชนอยางรูคุณคา ดวยพื้นฐานทางดานสังคม ภูมิปญญาชาวบาน ประเพณี
             ทองถิ่นที่มีความสอดคลองกับการดําเนินชีวิตอยางมีคุณคา

                     โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ปญหาโรคไมติดตอเรื้อรังหรือที่เรียกวาโรควิถี
             ชีวิต ที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นจากความเจริญทางดานวัตถุสภาพแวดลอมและพฤติกรรมการ
             บริโภคที่ไมเหมาะสม รวมถึงภาวะความเครียด ขาดการออกกําลังกาย การสูบบุหรี่ดื่มสุรา
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22