Page 16 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 16

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   11

                ผูปวยสามารถปรับตัวเขากับความเจ็บปวยโรคเบาหวานได และสงเสริมใหมีความสามารถในการ
                ดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น

                        3. ครอบครัวมีสวนในการเสริมสรางพลังอํานาจใหกับผูปวยเบาหวาน ในกรณีที่ผูปวย
                เบาหวาน ไมมีกําลังใจ ทอแทตอสภาวการณเจ็บปวยของโรคเบาหวานที่เกิดขึ้น หรือแมแต
                การกลับมารักษาซ้ํา ในโรงพยาบาลบอยครั้งทําใหผูปวยรูสึกเบื่อหนายและทอแทได การไดรับ
                เสริมสรางพลังอํานาจจากครอบครัวเปนสิ่งที่สําคัญสําหรับผูปวย ซึ่งจะมีผลตอการเพิ่มระดับพลัง
                อํานาจในการควบคุมสถานการณจัดการกับความเจ็บปวย

                        3. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของชุมชน
                        การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง การที่บุคคลที่เปนสมาชิกของชุมชนมีสวนในการวาง
                แผนการดําเนินกิจกรรม ควบคุมกํากับและประเมินผล โดยอาศัยทรัพยากรในทองถิ่นเพื่อใหเกิด

                ประโยชนดวยการพึ่งตนเอง การสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน จึงเปนการเปดโอกาสให
                ประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาขีดความสามารถของตนในการจัดการควบคุม การปฏิบัติ
                และรวมรับผิดชอบในงานตางๆ อันมีผลกระทบตอตัวประชาชนเอง หรือการเปดโอกาสให
                ประชาชนหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดเขามารวมมือในโครงการพัฒนาชุมชน ซึ่งลักษณะของการเชา

                รวม ประกอบดวย ความกระตือรือรน มีการรวมมือ การสรางพลังในการพัฒนา การมีสิทธิใน
                ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่จะเกิดประโยชนตอชุมชนมากที่สุด (ทวีทอง หงสวิวัฒน, 2527 อางถึง
                ใน นิรมล เมืองโสม, 2553) ดังนั้น การมีสวนรวมของชุมชน คือ หัวใจของการพัฒนาในดาน
                สุขภาพที่เปนรูปธรรม (นวรัตน สุวรรณผอง, 2545 อางถึงใน นิรมล เมืองโสม, 2553)

                        ระดับการมีสวนรวมของชุมชน องคการอนามัยโลก (World Health Organization)
                ไดเสนอรูปแบบการมีสวนรวมที่ถือวาเปนรูปแบบที่แทจริงหรือสมบูรณนั้น จะตองประกอบไป
                ดวยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผน ประชาชนตองมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหา
                จัดระดับความสําคัญตั้งเปาหมาย กําหนดการใชทรัพยากร กําหนดวิธีติดตามและประเมินผล

                และตองมีการตัดสินใจดวยตัวเองดวย 2) การดําเนินกิจกรรม ประชาชนตองมีสวนรวมในการ
                จัดสรร ควบคุม ดานการเงินและการบริหาร 3) การใชประโยชน ประชาชนตองมีความสามารถ
                ในการนาเอากิจกรรมมาใชใหเกิดประโยชนได ซึ่งเปนการยกระดับของการพึ่งตนเองและควบคุม
                ทางสังคม 4) การไดรับประโยชน ประชาชนจะตองไดรับการแจกจายผลประโยชนจากชุมชนใน

                พื้นที่ที่เทาๆ กัน ซึ่งจะเปนผลประโยชนสวนตัว สังคม หรือวัตถุได การเขาไปมีสวนรวมของ
                ประชาชนในโครงการพัฒนาชนบท มีขั้นตอนตางๆ คือ กําหนดแนวคิดโครงการ (Program
                Conceptualization) กําหนดนโยบาย (Policy Development) กําหนดโครงการ (Program
                Formation) กําหนดแผนงานโครงการ (Program Planning) ปฏิบัติตามโครงการ (Program

                Implementation) ประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) และวางแผนโครงการใหม
                (Program Re-planning) การมีสวนรวมของชุมชนมีความสําคัญและเปนหัวใจของการพัฒนา
                ชุมชน โดยการมีสวนรวมของชุมชนทําใหเกิดการพัฒนาชุมชนได ดังนี้ (นวรัตน สุวรรณผอง,
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21