Page 14 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   9

                tailoring) นอกจากนั้นยังตองอาศัยการสนับสนุนการจัดการตนเอง (self-management
                support) ที่ใชกลยุทธที่เหมาะสมจากเจาหนาที่ในทีมสุขภาพ  ไดแก การการสนับสนุนใหมีการ

                รับรูสมรรถนะแหงตน (self-efficacy) เพิ่มขึ้น เพื่อใหมีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรมอยางไม
                ยอทอตออุปสรรคโดยอาศัยแหลงสนับสนุน 4 แหลง ประกอบดวย ประสบการณที่ไดจากการ
                ประสบความสําเร็จโดยการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง (enactive mastery experience)  การได
                เห็นตัวแบบหรือประสบการณจากการกระทําของผูอื่น (vicarious experience) การชักจูงดวย
                คําพูด (verbal persuasion) ซึ่งจะชวยใหผูปวยมั่นใจในตนเองเพิ่มขึ้น (Bandura, 1997) และ

                การสนับสนุนดานรางกายและอารมณ (physiological and effective states) เพื่อใหมีสภาวะ
                รางกายและอารมณอยูในภาวะปกติ ไมเกิดความเครียด หรือความวิตกกังวล กระบวนการที่กลาว
                มาทั้งหมด จะนําไปสูการจัดการตนเอง (self-management) ที่ถูกตอง ซึ่งเปนเปาหมายสําคัญ

                ของการดูแลผูที่เปนโรคเรื้อรังในระยะยาว ดังนั้น การจัดการตนเอง (self-management) จึง
                เปนทักษะการเรียนรูและการปฏิบัติที่จําเปนตองกระทําถึงแมจะอยูในภาวะเจ็บปวยก็ตาม
                (Lorig, 1993) การจัดการตนเองเกิดจากการรับรูของบุคคลเกี่ยวกับความเจ็บปวย ซึ่งบุคคลนั้น
                สามารถจัดการกับความเจ็บปวยของตนเองได จะตองอาศัยความรู ความเขาใจถึงความเจ็บปวย

                ของตนเอง รูถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น สามารถเผชิญกับอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้น รวมถึง
                ตัดสินใจที่จะจัดการกับความเจ็บปวย โดยเนนวิธีการสอนใหผูปวยเกิดทักษะที่จําเปนในการ
                จัดการตนเอง จะเห็นวา กระบวนการจัดการตนเองที่กลาวมาเปนกระบวนการที่เปนระบบ
                แตกตางจากการสอนโดยทั่วไป และเมื่อไดบูรณาการแหลงสนับสนุนทั้ง 4 แหลงตามแนวคิดของ

                แบนดูราไวในแตละขั้นตอนอยางเหมาะสม  เชื่อวาจะทําใหมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูที่
                เปนโรคเรื้อรังในชุมชนไดดีขึ้น โดยเฉพาะ โรคความดันโลหิตสูงและ โรคเบาหวานที่พบ
                คอนขางมาก อยางไรก็ตามแนวคิดการจัดการตนเองนี้สามารถนําไปใชกับโรคเรื้อรังไดทุกโรค
                และยังทําใหการดําเนินของโรคดีขึ้นไปในทิศทางบวกตอไป

                        2. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของครอบครัว
                        ครอบครัวเปนหนวยพื้นฐานในการดูแลสุขภาพและความเจ็บปวยของสมาชิกในครอบครัว
                ถือเปนคานิยมและความรับผิดชอบของคนในครอบครัวที่ใหการดูแลซึ่งกันและกันโดยเฉพาะอยาง
                ยิ่งในสังคมไทย ซึ่งไมใชเฉพาะบิดามารดาตองดูแลบุตรที่เจ็บปวยเทานั้น แตยังรวมถึงบุตรดูแลบิดา

                มารดาที่เจ็บปวย คูสามีภรรยาดูแลกันและกัน หรือพี่นองดูแลกันและกันอีกดวย
                        แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของครอบครัว (Family participation) การมีสวนรวม
                ของครอบครัวในการดูแลผูสูงอายุที่เจ็บปวยเรื้อรังเปนสิ่งสําคัญในการการดูแลผูปวย จาก
                การศึกษาของ Sebern พบวา การมีสวนรวมของครอบครัว ประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 3

                ประการ คือ
                        1) การสื่อสาร หมายถึง การสื่อสารโดยการแสดงความรูสึก การใหคําแนะนําและขอมูล
                ที่เกี่ยวของกับการเจ็บปวย เพื่อใหผูปวยแลสมาชิกในครอบครัวมีความเขาใจตรงกัน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19