Page 9 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             ถึงแมจะยังไมไดรับการวินิจฉัยเปนโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวานแตมีความเสี่ยงตอการ
             เกิดโรค นอกจากนี้ จากการเยี่ยมบานของผูสูงอายุและไดสนทนากับญาติซึ่งเปนผูดูแลผูปวย ยัง

             พบวา ญาติมีความกระตือรือรนที่จะไดความรูและเรียนรูแนวทางในการดูแลผูปวย ตองการใหมี
             ผูเยี่ยมเยียนผูปวยที่บาน และมีความตองการใหมีกิจกรรมที่จะสงเสริมใหผูปวยมีการดูแลตนเอง
             อยาตอเนื่องและยั่งยืน
                     เมื่อพิจารณาถึงลักษณะของชุมชน รวมทั้งปจจัยภายในและภายนอกชุมชนที่อาจมีผล
             ทําใหเกิดความเสี่ยงตอการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต พบวา แตเดิมประชาชนสวน

             ใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะทํางาน และมีการเพาะปลูกพืชอื่นๆ มีคนวัยทํางาน
             สวนนอยที่ออกไปทํางานนอกเขตชุมชน ประชาชนมีการประกอบอาชีพตามภูมิปญญาทองถิ่น
             เชน การทําแคบหมู ขาวแตน แกะสลัก ขนมไทย น้ําพริก และดอกไมจันทน เปนตน แตใน

             ปจจุบันเนื่องจากความเจริญทางดานเทคโนโลยี รวมทั้ง การขยายตัวของชุมชนเมืองเขามาใน
             ชนบท และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดและประเทศ ทําใหวิถีชีวิตของคนในชุมชน
             เปลี่ยนแปลงไปจากแบบชนบทดั้งเดิมไปสูความเปนสังคมเมืองมากขึ้น ประชาชนวัยทํางาน
             ออกไปทํางานนอกบานหรือนอกเขตพื้นที่ชุมชนเปนสวนใหญ มีเพียงผูสูงอายุเทานั้นที่ประกอบ

             อาชีพเกษตรกรรมหรือรับจางตางๆ ภายในชุมชน แหลงทํางานนอกเขตชุมชน ไดแก บริษัทหาง
             รานในตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม หรือโรงงานอุตสาหกรรมในเขตชานเมืองรอบ ๆ  สวนในพื้นที่ก็
             ไดมีการสรางโรงงานและมีการจางงาน เชน โรงงานพลาสติก โรงงานเครื่องเทศ วิถีชีวิตของคน
             ในชุมชนจึงเปลี่ยนแปลงไปจากแบบชุมชนชนบทไทย ไปเปนการดําเนินชีวิตรีบเรง ตองทํางาน

             แขงกับเวลาเนื่องจากการจราจร ไมสะดวก ทําใหไมมีเวลาจัดสรรในการดําเนินชีวิตมากนัก
             กิจกรรมสวนใหญเปนแบบเรงดวน แมแตการรับประทานอาหารที่เคยรับประทานอาหารพื้นบาน
             ก็เปลี่ยนไปเปนการซื้ออาหารปรุงสําเร็จหรืออาหารที่สั่งจากรานอาหารหรือรานสะดวกซื้อ
             นอกจากนี้ ครอบครัวยังมีเวลาใหกันนอยลงเนื่องจากตองออกไปทํางานนอกบาน และกลุมตางๆ

             ที่เคยจัดในชุมชน ก็มีผูเขารวมกิจกรรมลดลง เชน จะเห็นวากลุมออกกําลังกายบางกลุมมีจํานวน
             ผูออกกําลังกายนอยลง หรือบางกลุมไมมีการจัดกิจกรรมอีก เปนผลสืบเนื่องจากแบบแผนการ
             ดําเนินชีวิตที่ประชาชนวัยทํางานออกไปประกอกบอาชีพนอกชุมชนมากขึ้น ซึ่งผลกระทบจาก
             พฤติกรรมการดําเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ทําใหปญหาการเจ็บปวยดวยโรคติดตอไมเรื้อรังมีแนวโนม

             สูงขึ้นโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเปนปญหาสุขภาพโรคเรื้อรังสองอันดับ
             แรกของชุมชน
                     กระบวนการสรางเสริมความเขมแข็งของผูปวยครอบครัว และชุมชนในการดูแลสุขภาพ
             ผูปวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงใหมีสุขภาพดีตามวิถีชุมชน มีขั้นตอนดังนี้

                     ระยะที่ 1 ขั้นวางแผน ขั้นตอนนี้เปนการศึกษาสถานการณการดูแลสุขภาพผูปวย
             โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และปจจัยที่เกี่ยวของ
             วิธีการ มีรายละเอียดดังนี้
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14