Page 43 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 43

38  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการทันตกรรมในเครือขายระดับปฐมภูมิ
             ศูนยแพทยทาพระ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ของ ประพิณทิพย หมื่นนอย การศึกษาความ

             พึงพอใจของผูรับบริการตอการบริการฝายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน จังหวัด
             รอยเอ็ด ของเสาวคนธ โพธิสาร (2550: 31) และแตดวยขอจํากัดบางประการ ทําใหกลุมตัวอยาง
             มีความพึงพอใจนอยในเรื่อง ระยะเวลารอคอยกอนเขาเยี่ยม อธิบายไดวา เนื่องจากหอง
             ผูปวยหนักเปนหอผูปวยปด ไมไดใหญาติเฝาตลอด จะเปดใหญาติเขาเยี่ยมเปนเวลา ตองดูแล
             ผูปวยที่อยูในระยะวิกฤตที่มีพยาธิสภาพของโรครุนแรงแตกตางกัน มีภาระงานปริมาณมากกวา

             หอผูปวยสามัญทั่วไป และเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค ทําใหตองจํากัดเวลาและ
             บุคคลในการเขาเยี่ยม ในบางครั้งญาติอาจมาไมตรงกับเวลาที่อนุญาตใหเขาเยี่ยมได
                     2. ปจจัยที่มีความสัมพันธตอความพึงพอใจของผูรับบริการ

                      จากผลการศึกษาพบวา ผูรับบริการที่มีอายุตางกันมีความพึงพอใจไมแตกตางกัน คือ
             เทากันรอยละ 76.00 แสดงวาตองการขอมูลไมตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูรับบริการหรือญาติ
             ที่ดูแลผูปวยสวนใหญอยูในสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร และพื้นที่เดียวกันมีโอกาสไดรับขอมูล
             ขาวสารเดียวกัน ทําใหมีความสามารถในการคนควา หาขอมูลจากแหลงตาง ๆ ใกลเคียงกัน และ

             อาจเนื่องมาจากผูมารับบริการหรือญาติไดรับขอมูลดานการรักษาพยาบาลและการอํานวยความ
             สะดวก ตั้งแตแรกเขารับบริการในหองผูปวยหนัก ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษาของแอนเดอรสัน
             (Anderson,1980) ที่พบวาอายุเปนปจจัยสําคัญที่มีผลตอความรูสึกนึกคิดของบุคคล เมื่อมีอายุ
             มากขึ้น บุคคลจะพัฒนาดานความคิดมากขึ้นและจากประสบการณตาง ๆ ที่ไดรับจะทําใหเกิด

             การเรียนรู ในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
                      ผูที่ไดเรียนหนังสือมีความพึงพอใจในการใหบริการมากกวาผูที่ไมไดเรียนหนังสือ รอย
             ละ 76.80 สามารถอธิบายไดวา ระดับการศึกษามีผลตอความพึงพอใจแตกตางกัน เนื่องจากผูที่
             สามารถอานหนังสือไดมีโอกาสไดรับขอมูลขาวสารและสามารถเขาใจในคําอธิบายหรือแนะนํา

             ของบุคลากรทางการแพทยไดเร็วกวาผูที่ไมไดเรียนหนังสือ สอดคลองกับการศึกษาที่วา
             การศึกษาทําใหบุคคลมีความเจริญงอกงามทางสติปญญา มีความรอบรู มีเหตุผลและใฝรูมากขึ้น
             มีโอกาสรับรูขาวสารตาง ๆ ทําความเขาใจในสิ่งตาง ๆ ที่เรียนรูไดมาก (Pender, 1982)
                     ผูรับบริการหรือญาติที่มีอาชีพ หรือรายไดตางกันตองการขอมูลใกลเคียงกันคือ อาจ

             เนื่องมาจากญาติไดรับขอมูลดานการรักษาพยาบาล และการอํานวยความสะดวก ตั้งแตแรกเขา
             รับบริการในหองผูปวยหนักและจากระบบบริการสุขภาพถวนหนา ทําใหผูปวยมีสิทธิ ในการ
             รักษาโดยไมเสียคาใชจาย ทําใหความกังวลของญาติไมแตกตางกัน ซึ่งสงผลตอความตองการ
             ขอมูล เพราะเมื่อเรามีความกังวล เราจะตองการขอมูล เพื่อคลายความกังวลนั้น ๆ พบวาสวน

             ใหญประกอบเกษตรกรรม และไมใชเกษตรกรรม รอยละ 80.4 และรอยละ 71.4 มีรายได
             <10000 บาท/เดือน และ ≥10000 บาท/เดือน รอยละ 78.0 และ รอยละ 66.7 ตามลําดับ ซึ่ง
             สอดคลองกับการศึกษาที่วา ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการบริการรักษาพยาบาลโดยใชบัตร
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48