Page 42 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 42

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   37

                ตารางที่ 11  ความสัมพันธระหวางความรุนแรงของโรคที่เจ็บปวยกับระดับความพึงพอใจ
                ของผูรับบริการหองผูปวยหนัก

                         ความรุนแรงของโรค               ระดับความพึงพอใจ              รวม
                                                     พึงพอใจ       ไมพึงพอใจ
                  รุนแรงระดับ 4A                   76 (76.0)     24 (24.0)       100 (100.0)
                  ไมใชระดับ4A                    0             0               0

                  รวม                              76 (76.0)     24 (24.0)       100 (100.0)
                         2
                        X  = 0, df = 0, p = 0


                    3.10 ประสบการณที่มารับบริการ
                        ผลการศึกษา พบวา ผูรับบริการที่เคยมารับบริการ มีความพึงพอใจมากกวาผูที่มารับ
                บริการครั้งแรก คือรอยละ 94.9 เมื่อทดสอบความสัมพันธ พบวา ประสบการณในการรับบริการมี
                ความสัมพันธกับระดับความพึงพอใจอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = 0.001) ดังแสดงในตารางที่ 12


                ตารางที่ 12 ความสัมพันธระหวางประสบการณที่มารับบริการกับระดับความพึงพอใจของ
                ผูรับบริการหองผูปวยหนัก

                     ประสบการณที่มา                   ระดับความพึงพอใจ         รวม
                        รับบริการ                พึงพอใจ       ไมพึงพอใจ
                         เคย                  37 (94.9)         2 (5.1)      39 (100.0)

                         ไมเคย              39 (63.9)        22 (36.1)      61 (100.0)
                         รวม                 76 (76.0)        24 (24.0)      100 (100.0)
                        X  = 10.845, df = 1, p = 0.001
                         2


                อภิปรายผล
                        ผูวิจัยขออภิปรายผลการวิจัย ตามวัตถุประสงค ดังตอไปนี้
                        1. ระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ

                        ความพึงพอใจ ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด (x̄
                = 2.72, S.D. = .490) เมื่อพิจารณารายละเอียด พบวา กลุมตัวอยางมีความพึงพอมากที่สุด ใน
                เรื่องเจาหนาที่แตงกาย สะอาด เรียบรอย มีความสะอาด เรียบรอย เครื่องมือ หรืออุปกรณ
                สําหรับการตรวจรักษามีความสะอาด ปลอดภัย อธิบายไดวา บุคลากรในหนวยงานหอง

                ผูปวยหนัก ใหความสําคัญกับความสะอาด เรียบรอย ทั้งดานตัวบุคคล สถานที่ และวัสดุอุปกรณ
                นอกจากนั้น ในปจจุบันหนวยงานหองผูปวยหนัก โรงพยาบาลมุกดาหาร ไดรับรองคุณภาพการ
                บริการบันไดขั้นที่ 2 จากสถาบันพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) ซึ่งตอง
                รับการประเมินทุก 6 เดือน ทําใหหนวยงานหองผูปวยหนักตองมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47