Page 27 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 27

22  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                     2. ระดับเจตคติเกี่ยวกับนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานี
                     ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูใน

             ระดับดี ( X = 3.31, SD = 0.17)(ตารางที่ 2) เนื่องจากเจตคติคือ ความรูสึกและความคิดเห็น ซึ่ง
             มีผลทําใหบุคคลพรอมที่จะแสดงปฏิกิริยา ความชอบ หรือไมชอบ พอใจ หรือไมพอใจที่บุคคล
             แสดงออกมาตอสิ่งตางๆทั้งนี้ปจจุบันหนวยงานทั้งภาครัฐและหนวยงานเอกชนไดมีการ
             ตอบสนองตอนโยบายของรัฐบาลในการสงเสริมการออกกําลังกายในรูปแบบตางๆ โดยจะเห็นได

             จากมีสื่อตางๆ ที่หลากหลาย เผยแพรขาวสารเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เชน โปสเตอรรณรงค
             การออกกําลังกาย ปายโฆษณาและการรณรงคการวิ่งเพื่อสุขภาพของหนวยงานตาง ๆ รวมถึง
             สถาบันการศึกษาในแตละแหงไดมีการสงเสริมใหนักศึกษาเห็นความสําคัญของการออกกําลังกาย

             จึงทําใหนักศึกษาไดรับรูและมีเจตคติที่ดีตอการออกกําลังกาย สอดคลองกับการศึกษาของชาญช
             ลักษณ เยี่ยมมิตร (2556) ที่พบวาเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย
             ราชภัฎรําไพพรรณี อยูในระดับดีมากแตไมสอดคลองกับการศึกษาของเพชรัต คุณาพันธ และ
             คณะ(2560)ซึ่งไดศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

             วิทยาเขตศาลายา ผลวิจัยพบวา ดานเจคติตอการออกกําลังกาย โดยภาพรวมอยูในระดับปาน
             กลาง
                     3.ระดับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมือง
             อุบลราชธานี

                     ผลการวิจัย พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูใน
             ระดับปานกลาง ( X = 2.71, SD = 0.13) (ตารางที่ 3)อาจเนื่องจากนักศึกษาเหน็ดเหนื่อยจาก
             การเรียน  และเนื่องจากนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1 เพิ่งเปลี่ยนจากการศึกษาระดับมัธยมศึกษา

             มาเปนอุดมศึกษาทําใหตองใชเวลาในการปรับตัวกับการเรียน จึงอยากใชเวลาในการทําการบาน
             อานหนังสือมากกวาซึ่งจากขอมูลคุณภาพที่ไดจากแบบสอบถามปญหาและอุปสรรคในการออก
             กําลังกายพบวา นักศึกษาสวนใหญไมมีเวลาวางในการออกกําลังกาย และใชเวลาสวนใหญในการ

             ทําการบาน อานหนังสือ (รอยละ 47.20) นอกจากนี้ยังใหเหตุผลในการไมออกกําลังกายวาเหน็ด
             เหนื่อยจากการเรียนและใชเวลาในการนอนหลับพักผอน สภาพอากาศไมเอื้อ อุปกรณและ
             สถานที่ไมเพียงพอ ไมมีเพื่อนออกกําลังกาย การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยาก เปนตน และจาก
             การสํารวจขอมูลทั่วไปพบวากลุมตัวอยางออกกําลังกาย 1-2 วันตอสัปดาห จึงมีพฤติกรรมการ

             ออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของภูษณี วิจันทึกและคณะ
             (2560) ที่พบวาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาภาคปกติคณะสาธารณสุขศาสตร
             มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาอยูในระดับปานกลาง
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32