Page 26 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 26

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   21

                 ปญหาและอุปสรรคในการออกกําลังกาย             จํานวน (คน)         รอยละ
                     สภาพอากาศไมเอื้อ                            13               8.07

                     อุปกรณไมเพียงพอ                             8               4.97
                     สถานที่ไมเพียงพอตอการออกกําลังกาย           6               3.73
                     ทําใหรางกายออนแรง/ไมสบาย                  6               3.73
                     ไมมียานพาหนะ                                 5               3.11

                     ไมมีเพื่อน                                   4               2.48
                     เลิกเรียนชา                                  4               2.48
                     การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยากมาก           3               1.86
                     ใชเวลาการเดินทางนาน                          2               1.24

                     ไมสนใจออกกําลังกาย                           2               1.24
                     รวม                                          161              100

                สรุปและอภิปรายผล

                        การศึกษาความรู เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและพฤติกรรมการออกกําลังกาย
                ของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานีผลการวิจัยอภิปรายไดดังนี้
                        1. ระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมือง

                อุบลราชธานี
                        ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูใน
                ระดับดี ( X = 90.05, SD = 5.90)(ตารางที่ 1) ทั้งนี้อาจเนื่องจากในปจจุบันเปนยุคที่เทคโนโลยี
                พัฒนาอยางรวดเร็ว ขอมูลขาวสารตางๆสามารถเชื่อมโยงถึงกันไดงาย ความรูดานสุขภาพและ

                การออกกําลังกายเปนเรื่องที่หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนใหความสนใจ และเผยแพรอยาง
                กวางไกลทางอินเทอรเน็ตโทรศัพทมือถือ ตามสื่อตางๆไมวาจะเปนทีวี จึงทําใหนักศึกษาไดรับ
                ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการออกกําลังกายและอาจเนื่องจากกลุมตัวอยางเปนนักศึกษาพยาบาล มี

                ทักษะการเรียนรูในดานการนําความรูและทักษะไปประยุกต เกิดความตระหนักและความ
                รับผิดชอบตอสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของตนเอง จึงมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ
                ออกกําลังกายอยูในระดับดีดังกลาว สอดคลองกับการศึกษาของชาญชลักษณ เยี่ยมมิตร (2556)
                ที่พบวาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎรําไพพรรณีอยูในระดับดี
                มากแตไมสอดคลองกับการศึกษาของภูษณี วิจันทึก และคณะ (2560) ซึ่งไดศึกษาความรูและ

                พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสาธารณสุขศาสตร
                มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวาความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูในระดับ
                ปานกลางและการศึกษาของ ฉลอง อภิวงค (2554) ที่พบวานักศึกษามหาวิทยาลัยหอการคาไทย

                มีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31