Page 24 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 24
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018 19
5. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม
6. นําขอมูลไปวิเคราะหทางสถิติ
การวิเคราะหขอมูล
1. ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง วิเคราะหดวยความถี่ รอยละ
2. ขอมูล ความรู เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและพฤติกรรมการออกกําลังกาย
ของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานีวิเคราะหโดยใชสถิติคาเฉลี่ย ( X ) และสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. ปญหาและอุปสรรคในการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมือง
อุบลราชธานีวิเคราะหดวยความถี่ รอยละ
ผลการวิจัย
1. กลุมตัวอยางเปนเพศหญิง (รอยละ 91.50) มีอายุ 18-20 ป (รอยละ 93.00) สวน
ใหญน้ําหนัก 51-60 กิโลกรัม (รอยละ 45.00) สวนสูง 151-160 เซนติเมตร (รอยละ 56.00) โดย
มี BMI 18.50-22.90 (รอยละ 49.50) การใชเวลาวางสวนใหญเลือกการนอน (รอยละ 68.00) ที่
อยูอาศัยปจจุบันอยูหอพักในสถาบัน (รอยละ 99.50) ไดรับตอเดือน 5,000-10,000 บาท (รอย
ละ 53.50) สวนใหญออกกําลังกาย 1-2 วันตอสัปดาห (รอยละ63.50) โดยเลือกการวิ่ง (รอยละ
66.00) สถานที่ออกกําลังกายสวนใหญเลือกสวนสาธารณะ (รอยละ 59.00) และออกกําลังกาย
ตอนเย็น (รอยละ 90.00) บุคคลที่รวมออกกกําลังกายคือเพื่อน (รอยละ 89.00) สวนใหญออก
กําลังกายเพื่อสุขภาพ (รอยละ 64.50)
2. ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมือง
อุบลราชธานี พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูในระดับดี ( X
= 90.05, SD = 5.90) ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมือง
อุบลราชธานี (n= 200 คน)
รอยละของคะแนน จํานวน (คน) X SD ระดับ
รอยละ 80.00 ขึ้นไป 192 90.05 5.90 ดี
รอยละ 50.00 - 79.99 8 73.75 2.31 ปานกลาง
รอยละ 00.00 - 49.99 0 0 0 ไมดี
รวม 200