Page 20 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 20

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   15

                อยางเหมาะสม แตจากการสังเกตพบวานักศึกษาพยาบาลไมชอบออกกําลังกายอาจเนื่องจากมี
                ความเหนื่อยลาจากการเรียน ซึ่งนักศึกษาพยาบาลจะตองเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติกับผูปวย

                เพื่อใหเกิดความชํานาญ ในการขึ้นปฏิบัติการทํางานที่เกี่ยวของกับความเปนความตายความ
                เจ็บปวยของมนุษย ตองมีความรับผิดชอบสูงอาจทําใหเกิดความเครียด จนสงผลใหนักศึกษา
                พยาบาลไมคอยมีเวลาในการดูแลสุขภาพตัวเอง และใชเวลาวางในการทํากิจกรรมที่ไมเกิด
                ประโยชน เชน การเที่ยวตามหางสรรพสินคา และใชเวลาอยูกับสังคมออนไลน (ฉลอง อภิวงค,
                2554) นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารไมเหมาะสมจากการศึกษาพบวาวัยรุน

                เลือกซื้ออาหารเพียงเพื่อโออวด เลือกซื้ออาหารโดยขาดการไตรตรอง ไมคํานึงถึงเรื่องสุขภาพ
                รับประทานอาหารประเภทหวาน มัน และเค็มมากเกินไปรับประทานผักและผลไมนอย นิยมดื่ม
                น้ําอัดลมมากกวาน้ําสะอาดทําใหเกิดโรคอวนไดงาย ซึ่งภาวะที่มีน้ําหนักเกินหรือโรคอวนเปน

                ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน ขอ
                เสื่อม (สุวรรณา เชียงขุนทด และคณะ, 2557; สุลัดดา พงษอุทธา และวาทินีคุณเผือก, 2558)
                การที่นักศึกษามีพฤติติกรรมแบบนี้ แสดงใหเห็นวาไมมีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพที่จะ
                ตามมา จากทฤษฎีพฤติกรรมของบลูม (Bloom, 1975) ไดกลาวถึงพฤติกรรมวา เปนกิจกรรมทุก

                ประเภทที่มนุษยกระทําอาจจะเปนสิ่งที่สังเกตไดหรือไมได และพฤติกรรมดังกลาวไดแบง
                ออกเปน 3 สวน คือ ดานความรู ดานเจตคติ และดานการปฏิบัติ ซึ่งมีการศึกษาที่พบวานักศึกษา
                มีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง มีเจตคติตอการออกกําลังกายอยูใน
                ระดับพอใช และมีพฤติกรรมดานการออกกําลังกายโดยรวมมีระดับพอใช (ฉลอง อภิวงค, 2554)

                แสดงใหเห็นวานักศึกษายังเห็นความสําคัญของการออกกําลังกายนอย ดังนั้นควรสงเสริมใหเห็น
                ความสําคัญของการออกกําลังกายมากยิ่งขึ้น และการศึกษาของขนิษฐา อิ่มสุวรรณ, ชอบ หนู
                กล่ําและ สมนึก เอมพรหม (2552) พบวานักศึกษาไมออกกําลังกาย ใหเหตุผลในการไมออก
                กําลังกาย คือ ไมสนใจ รอยละ 37.5 เสียเวลาทําการบานรอยละ 36.8 ไมมีเวลารอยละ 51.1 ไม

                มีอุปกรณรอยละ 0.6 ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมพบวามีการศึกษาเกี่ยวกับความรู เจตคติ
                และพฤติกรรมการออกกําลังกายกับกลุมตัวอยางหลากหลาย แตยังไมพบวามีการศึกษา
                พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานี ผูวิจัยจึงสนใจ
                ที่จะศึกษาความรู เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและพฤติกรรมการออกกําลังกายของ

                นักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานีเพื่อนําผลวิจัยมาเปนแนวทางในการสงเสริม
                พฤติกรรมสุขภาพและสรางเจตคติที่ดีตอการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาลในเขตอําเภอ
                เมืองอุบลราชธานี ใหมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นมีการออกกําลังกายที่ถูกตองและเหมาะสม อีก
                ทั้งมีสุขภาพแข็งแรงทั้งรางกายและจิตใจ สามารถเรียนไดอยางมีความสุขและปฏิบัติงานไดอยาง

                มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25