Page 61 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 61

56  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

                     3. ความสุขของผูสูงอายุ
                            ดานความสุขของกลุมตัวอยางวิเคราะหขอมูลหาระดับความสุขของผูสูงอายุ

             โดยนํามาแจกแจงความถี่ รอยละ และนําเสนอเปนรูปตารางประกอบ ดังตารางที่ 2

             ตารางที่ 2 จํานวน และรอยละ ความสุขของกลุมตัวอยางของผูสูงอายุชุมชนทุงขุนนอย จําแนก
             ตามรายกลุม

                    ความสุขของผูสูงอายุ           จํานวน                 รอยละ
               สุขภาพจิตดีกวาคนทั่วไป               8                      8.4
               สุขภาพจิตเทากับคนทั่วไป              50                    52.6

               สุขภาพจิตต่ํากวาคนทั่วไป             37                    38.9

                     จากตารางที่ 2 พบวาสวนใหญกลุมตัวอยางมีความสุขเทากับคนปกติ คิดเปนรอยละ
             52.6 รองลงมาคือ มีความสุขต่ํากวาคนทั่วไป คิดเปนรอยละ 38.9

                     4. ดานความสัมพันธระหวางความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวันดัชนีบารเธลเอดี
             แอล (Barthel ADL index) กับความสุขของกลุมตัวอยาง


             ตารางที่ 3 คาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธระหวางความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวันและ
             ความสุขของกลุมตัวอยาง
               ตัวแปร              กิจวัตร    ความสุข       สภาพ สมรรถภาพ คุณภาพจิตใจ
                                 ประจําวัน    ภาพรวม        จิตใจ        จิตใจ

               กิจวัตรประจําวัน         1
               ความสุขภาพรวม         .067            1
               สภาพจิตใจ             .001        .38**          1

               สมรรถภาพจิตใจ         .016        .81**        .14             1
               คุณภาพจิตใจ           -.03        .69**      .45**         .45**           1
               **p -value <.01


                     ตารางที่ 3 พบวา ความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวันกับความสุขในภาพรวม
             พบวาไมมีความสัมพันธกัน เมื่อพิจารณาความสัมพันธรายดานของความสุขกับความสามารถใน
             การดําเนินชีวิตประจําวัน พบวา การปฏิบัติกิจวัตรประจําวันกับสภาพจิตใจ สมรรถภาพจิตใจ

             คุณภาพจิตใจและปจจัยสนับสนุนมีความสัมพันธกันในระดับต่ํามาก (r=.001, r = .016, r = .03,
             r = .056)
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66