Page 59 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 59
54 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรตน ตัวแปรตาม
ความสุขของผูสูงอายุ
- สภาพจิตใจ
ความสามารถในการประกอบกิจวัตร - สมรรถภาพของจิตใจ
ประจําวันของผูสูงอายุ - คุณภาพของจิตใจ
- ปจจัยสนับสนุน
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย
วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงบรรยายแบบภาคตัดขวาง A cross-sectional
descriptive study
กลุมตัวอยาง ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบใชความนาจะเปน (Probability
sampling) โดยพิมพรายชื่อผูสูงอายุทั้งหมด 120 คนลงในกลองแลวหยิบขึ้นมาใหไดตามจํานวน
ที่คํานวณ 92 คน ซึ่งกําหนดขนาดกลุมตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางจาก
สูตร Yamane (1973: 887, อางอิงใน รัตนศิริ ทาโต, 2552)
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย มี 3 สวนผานการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ โดยการหาความ
ตรงตามเนื้อหา (Content validity) และหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) ดังนี้
สวนที่ 1 แบบสอบขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ศาสนา
ความสามารถในการอานออกเขียนได รายได สถานภาพ โรคประจําตัว สมาชิกในครอบครัว
กิจกรรมยามวาง ทั้งหมดจํานวน 10 ขอ
สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยใชแบบ
ประเมินคัดกรอง Barthel ADL ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดี
แอล (Barthel ADL index) จํานวน 10 ขอ มีคาความเชื่อมั่น 0.77
สวนที่ 3 เปนแบบสอบถามประเมินความสุขของผูสูงอายุของกรมสุขภาพจิต มีคา
ความเชื่อมั่น 0.64
การพิพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง
ผูวิจัยไดชี้แจงการวิจัยวากลุมตัวอยางสามารถใหการตอบรับหรือปฏิเสธการเขารวมวิจัย
ครั้งนี้ไดโดยจะไมมีผลใด ๆ ทั้งสิ้น ขอมูลที่ไดจากการตอบรับแบบสอบถามจะถูกปกปดเปน