Page 62 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 62

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   57

                สรุปและอภิปรายผล
                        1. ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน จากผลการวิจัย พบวา ผูสูงอายุเกือบ

                ทั้งหมดพึ่งตนเองได ชวยเหลือผูอื่น ชุมชนและสังคมได (กลุมติดสังคม) คิดเปนรอยละ 97.9
                รองลงมาคือ ดูแลตนเองไดบาง ชวยเหลือตนเองไดบาง (กลุมติดบาน) คิดเปนรอยละ 2.1 ซึ่ง
                ผลงานวิจัยนี้พบวาความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน ของกลุมตัวอยางปฏิบัติ
                กิจวัตรประจําวันไดต่ํากวางานวิจัยของปุณิกา กิตติกุลธนันท (2560) ที่ผูสูงอายุสามารถปฏิบัติ
                กิจวัตรประจําวันไดปกติ คิดเปนรอยละ 100 เมื่อพิจารณาการประกอบกิจวัตรประจําวัน เปน

                รายขอ พบวาการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของกลุมตัวอยางที่สามารถทําเองไดมากที่สุด รอยละ
                98.9 คือ การลางหนา หวีผม โกนหนวด รองลงมาคือ การรับประทานอาหาร สามารถตักอาหาร
                ชวยตนเองไดปกติ รอยละ 97.9 ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ปุณิกา กิตติกุลธนันท (2560) ที่

                สะทอนใหเห็นถึงการประกอบกิจวัตรประจําวันไดในระดับสูง (12-20 คะแนน) ซึ่งผูวิจัยอภิปราย
                ไดวากลุมตัวอยางในงานวิจัยทั้ง 2 เรื่องนี้ มีคุณลักษณะของผูสูงอายุที่อยูในกลุมติดสังคม
                เหมือนกัน สวนในประเด็นที่ผูวิจัยตั้งขอสังเกตจากผลการวิจัยนี้คือ ความตองการคนความ
                ชวยเหลือในการขึ้นลงบันไดของผูสูงอายุมีถึง รอยละ 14.7 อาจเปนเพราะวากลุมตัวอยางที่อยูใน

                อายุ 80 ปขึ้นไปมีถึงรอยละ 20 จึงเปนกลุมที่ตองการชวยเหลือในการขึ้นลงบันได สวนใน
                ประเด็นการลุกนั่งจากที่นอนหรือจากเตียงไปยังเกาอี้ มีขอมูลจากงานวิจัยพบวา สามารถทําได
                สูงถึง รอยละ 84.2 และประเด็นที่เปนปญหาเรื่อง การกลั้นการถายอุจจาระ กลั้นไมไดบางครั้ง
                คิดเปนรอยละ 42.1 การกลั้นปสสาวะ กลั้นไมไดในบางครั้งคิดเปนรอยละ 49.5 ซึ่งงานวิจัยของ

                จิรวรรณ อินคุม (2558) พบวาผูสูงอายุเกิดการสูญเสียความสามารถในการควบคุม การขับถาย
                ปสสาวะ ทําใหมีปสสาวะเล็ดราดออกมาทางทอปสสาวะ โดยไมสามารถควบคุมไดและกอใหเกิด
                ผลกระทบตอสุขอนามัย คุณภาพชีวิต และการเขารวมกิจกรรมทางสังคมของบุคคล ภาวะกลั้น
                ปสสาวะไมอยูเปนปญหาสุขภาพที่พบบอยเมื่อเขาสูวัยผูสูงอายุ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลง

                สภาพรางกายของผูสูงอายุ ที่ทําใหสมรรถภาพของรางกายเสื่อมถอยลงไป (สิรินทร ฉันศิริกาญ
                จน, 2552)
                        2. ดานความสุขของกลุมตัวอยางวิเคราะหขอมูลหาระดับความสุขของผูสูงอายุ พบวา
                สวนใหญกลุมตัวอยางมีความสุขเทากับคนปกติ คิดเปนรอยละ 52.6 รองลงมาคือ มีความสุขต่ํา

                กวาคนทั่วไป คิดเปนรอยละ 38.9 สอดคลองกับงานวิจัย สุจิตรา สมพงษ (2557) ที่พบวา
                ผูสูงอายุที่อยูในสถานสังเคราะหคนชรา ในจังหวัดนครปฐม มีความสุขอยูในระดับมาก และมี
                มุมมองตอความสุขวา เกิดจากการชวยเหลือตนเองได ยอมรับตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย
                การแบงปนทุกข การไดรวมกิจกรรมสถานสังเคราะห ในขณะที่งานวิจัยครั้งนี้ พบวาความสุขของ

                ผูสูงอายุสวนใหญ มีความรูสึกมั่นคงปลอดภัย มีความพึงพอใจในชีวิต สามารถยอมรับกับปญหา
                ที่เกิดขึ้นได และใหความชวยเหลือผูอื่นเมื่อมีโอกาส ในขณะเดียวกัน อัมพร เครือเอม (2561) ได
                ศึกษาความสุขในชีวิตของผูสูงอายุ ในชมรมผูสูงอายุตําบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี พบวาผูสูงอายุ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67