Page 34 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 34
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 29
รอยละ 58.0 รองลงมาเปนพยาบาลวิชาชีพเวรบาย จํานวน 12 ราย คิดเปนรอยละ 24.0 ดัง
รายละเอียดในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของบุคลากรที่ปฏิบัติการใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา
บุคลากร จํานวน(คน) รอยละ
พยาบาลวิชาชีพเวรเชา 29 58.0
พยาบาลวิชาชีพเวรบาย 12 24.0
พยาบาลวิชาชีพเวรดึก 9 18.0
2. ระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําและชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอดเลือดดํา
จากการศึกษา พบวาระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย ที่ใหสวน
ใหญอยูในชวงเวลา 48.1 –72 ชั่วโมง คิดเปนรอยละ 30.0 รองลงมา อยูในชวงเวลา 24 ชั่วโมง
คิดเปนรอยละ 28.0 และชวงเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา นานที่สุด อยูในชวงเวลา
72.1 ชั่วโมงขึ้นไป คิดเปนรอยละ 16.0 นอกจากนี้ยังพบวา ชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอด
เลือดดํา ที่ผูปวยไดรับมากที่สุด ไดแก สารละลายชนิด Isotonic จํานวน 40 ราย คิดเปนรอยละ
80.0 Hypertonic จํานวน 6 ราย คิดเปนรอยละ 12.0 และชนิดอื่น ๆ จํานวน 4 ราย คิดเปน
รอยละ 8.0 ดังรายละเอียดใน ตารางที่ 3
ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของระยะเวลาและชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอดเลือดดํา
ระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา จํานวน (คน) รอยละ
เริ่มให - 24 ชั่วโมง 13 26.0
24.1 – 48 ชั่วโมง 14 28.0
48.1 - 72 ชั่วโมง 15 30.0
72.1 ชั่วโมงขึ้นไป 8 16.0
ชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอดเลือดดํา
ชนิด Isotonic 40 80.0
ชนิด Hypertonic 6 12.0
ชนิดอื่น ๆ 4 8.0
3. บริเวณ/ตําแหนงที่ใหสารละละลายทางหลอดเลือดดําและจํานวนครั้งที่เปดเสน
จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา บริเวณที่ให
สารละลาย เปนบริเวณแขนขวามากที่สุด จํานวน 23 ราย คิดเปนรอยละ 46.0 รองลงมา เปน
บริเวณแขนซาย จํานวน 21 ราย คิดเปนรอยละ 42.0 บริเวณขาซาย จํานวน 1 ราย คิดเปนรอย