Page 58 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 58

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   53

                        Result revealed that in the urban area of Udon Thani province the alcohol
                drinking behavior of the study sample was: 1) Low risk drinker 9.80 % 2) moderate

                risk drinker 31.37 % 3) excessive use 20.59 % and 4) Alcohol dependent 38.24 %.
                The study results show that the majority of alcohol consumption behavior among
                people in the urban area was alcohol dependency. The study concludes that this
                group should be referred to consult with a doctor for diagnosis and treatment
                planning.

                Keywords: Alcohol Drinking Behavior, Alcohol

                บทนํา

                        ปจจุบัน เครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนสิ่งถูกกฎหมายในเกือบทุกประเทศทั่วโลก แตขอมูล
                งานวิจัยทั้งในและตางประเทศพบวา เครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนปจจัยเสี่ยงที่กอใหเกิดภาระโรค
                และความบาดเจ็บเปนอันดับตนๆ เมื่อเทียบกับปจจัยเสี่ยงอื่นๆ (สํานักงาน ป.ป.ส. กระทรวง
                ยุติธรรม, 2555) นอกจากนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลยังมีความสัมพันธกับสาเหตุการเสียชีวิต

                อันดับตน ๆ ในประเทศไทยหลายโรค เชน โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) การบาดเจ็บจาก
                อุบัติเหตุจราจร (Traffic accidents) เบาหวาน (Diabetes) การติดสุรา (Alcohol dependence)
                โรคเอดส (HIV/AIDS) โรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease) มะเร็งตับ (Liver
                cancer) และ โรคซึมเศรา (Depression) (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2557) ซึ่งการดื่มเครื่องดื่ม

                แอลกอฮอลเปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญ อันดับ 2 กอใหเกิดภาระโรคสูงถึง รอยละ 10 ของภาระโรค
                ทั้งหมดอีกดวย (วิชัย เอกพลากร, 2559) นอกจากการดื่มเครื่องเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนสาเหตุ
                สําคัญของปญหาทางสุขภาพที่รายแรงและทําใหเกิดสาเหตุการสูญเสียชีวิตแลว (กนิษฐา ไทย
                กลา, 2550) ยังเปนการเพิ่มคาใชจายในชีวิตประจําวันอีกดวย เปนปจจัยสําคัญของปญหา

                ทางดานเศษฐกิจถึง รอยละ 84.8 และสงผลตอสมาชิกในครอบครัวดานอื่น ๆ อีกดวย
                (กนกวรรณ จังอินทร, 2560)
                        การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลที่ไมไดเสียภาษี เชน เหลาเถื่อน เหลาที่ผลิตตามบาน

                ในชวงที่ผานมา มีความชุกของประชากรไทย อายุ 15 ปขึ้นไป รอยละ 1.3 ผูชายดื่มสูงสุด ใน
                กลุมอายุ 30 - 44 ป รอยละ 3.3 รองมาคือ อายุ 45 - 59 ป รอยละ2.4 อายุ 15 - 29 ป รอยละ
                1.7 อายุ 60 - 69 ป รอยละ 1.5 สําหรับผูหญิงดื่มสูงสุด ในกลุมอายุ 30 - 44 ป รอยละ 0.8 รอง
                มาคืออายุ 45 - 59 ป รอยละ 0.4 อายุ 60 - 79 ป รอยละ 0.2 (วิชัย เอกพลากร, 2559) ขอมูล
                ขององคการอนามัยโลก ระบุวา นักดื่มหนาใหมที่เพิ่มขึ้น 4.96% ตอป มีอายุอยูในชวง 15 - 19

                ป ซึ่งปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลของผูดื่ม คือ การตลาดและการ
                โฆษณาซึ่งปจจัยแวดลอมสําคัญที่มีผลตอทัศนคติและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดยเฉพาะ
                เยาวชน กลาวคือ การตลาด การโฆษณา การใชตราสัญลักษณเครื่องดื่มแอลกอฮอล รวมถึงการ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63