Page 62 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 62
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017 57
Abstract
The aimed of this survey research were to study the behaviors of blood
sugar control in Diabetes Mellitus (DM) patients in Ban That Sub-District Health
Promoting Hospital. The sample was 68 DM patients by purposive sampling, who
receiving services in Ban That Sub-District Health Promoting Hospital. Data were
collected by using questionnaire and analyzed by statistic instruments such as
frequency, percentage, mean and standard deviation.
According to the study, The overall average behaviors of blood sugar level control
in DM patients is in good level (X =2.41) including health behaviors (X =2.78) and
preventing complication taking medication and followed-up ( X =2.75) and stress
management ( X = 2. 40). For the moderate behaviors level related to food
consumption ( X =1.89) and exercise ( X =2.23) effect to high score. No warm-up
and mixed meals were found in DM patients resulting in the decrease of score
level. So, medical and public health authorities should focus on information about
diabetes received self-care behaviors especially on exercise and food control.
Keywords: Behaviors, blood sugar control, Diabetes Mellitus patients
บทนํา
โรคเบาหวานเปนโรคเรื้อรังและเปนปญหาดานสาธารณสุขที่สําคัญทั่วโลก (Valensiet.
al., 2005) เพราะภาวะที่รางกายไมสามารถนําน้ําตาลในกระแสเลือดมาใชเปนพลังงานไดนั้น
เปนทั้งโรคและปจจัยเสี่ยงที่นําไปสูโรคหัวใจและหลอดเลือด ประเทศไทยป 2556 มีผูเสียชีวิต
จากโรคเบาหวานทั้งหมด 9,647 ราย หรือเฉลี่ยวันละ 27 คน คิดเปนอัตราการตายดวย
โรคเบาหวาน 14.93 ตอแสนประชากร และมีผูปวยดวยโรคเบาหวานเขาพักรักษาตัวใน
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 698,720 ครั้ง คิดเปนอัตราปวย 1,081.25 ตอ
ประชากรแสนคน (กัญญรัตน เกียรติสุภา, 2557)
จากสถานการณโรคเบาหวานในจังหวัดอุดรธานี สถิติ 3 ปยอนหลัง พบวามีผูปวย
โรคเบาหวานในป พ.ศ. 2552-2554 คือ 44,790 ราย 49,278 ราย และ 53,201 ราย ตามลําดับ
คิดเปนอัตราปวยเทากับ 2,916.7, 3,189.9, และ 3,436.5 ตอประชากรแสนคน ตามลําดับ จะ
เห็นไดวามีรายงานจํานวนผูปวยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งโรคนี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่
ไมถูกตอง ไดแก การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และขาดการออกกําลังกาย ทําให
เกิดภาวะแทรกซอนตาง ๆ ของโรคได (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี กลุมงานโรคไม
ติดตอ, 2555) การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 จําแนกตามปจจัย
ดานบุคคล ปจจัยดานพฤติกรรมการดูแลตนเอง ปจจัยดานการสนับสนุน และความสัมพันธของ