Page 57 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 57

52  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             ติด เนื่องมาจากความอยากรูอยากลองของวัยรุน วะนิดา นอยมนตรี และนัยนา พิพัฒนวณิชชา
             (2558) คิดวาการสูบบุหรี่ชวยใหผอนคลาย รูสึกสบายใจขึ้น และสิ่งแวดลอมทางสังคม คือ มีราน

             สะดวกซื้อที่ทําใหวัยรุนหาซื้อไดงายขึ้น รวมทั้งสภาพแวดลอมสิ่งยั่วยุ ทั้งหนังสือพิมพ ภาพยนตร
             โทรทัศน และสื่อตาง ๆ ที่เขามาอยางรวดเร็ว รวมกับขาดการไตรตรองอยางรอบคอบ ขาดความ
             รับผิดชอบตอการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ที่ไมเหมาะสม มีโอกาสถูกชักจูงใหมีพฤติกรรมที่ไม
             เหมาะสมไดงาย (จรรยา เศรษฐพงษ, เกียรติกําจร กุศล, สายฝน เอกวรางกูร, และปยธิดา จุลละ
             ปย, 2553)

                     3. ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล พบวา พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพดานการดื่ม
             เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล อยูในระดับเสี่ยงปานกลาง และพบวากลุมตัวอยางดื่มเครื่องดื่มที่มี
             แอลกอฮอล เพื่อความสนุกสนาน และเขาสังคม ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของสุทธิรักษ ไชย

             รักษ และคณะ (2553) พบวา มูลเหตุและแรงจูงใจ ในการดื่มสุราสวนใหญเพราะตองการเขา
             สังคม รอยละ 16.9 รองลงมาคือ เพื่อนชวน รอยละ 15.2 และคลายเครียด รอยละ 13.9
             เชนเดียวกับงานวิจัยของเดือนแกว  ลีทองดี เสาวลักษณ ศรีดาเกษ และวัชรพล วิวรรศน เถาว
             พันธ (2553) พบวา วัยรุนดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลในโอกาสงานเลี้ยงสังสรรคมากที่สุด รอย

             ละ 43.6 ทั้งนี้เนื่องมาจากวัยรุนเปนวัยที่มีความอยากรูอยากลอง และตองการการยอมรับจาก
             เพื่อนในกลุมเดียวกัน ประกอบกับคานิยมของสังคมทั่วไป เชื่อวาการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
             จะชวยใหเกิดความสนุกสนาน
                     4. ดานพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ พบวา พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพดานเพศ อยูใน

             ระดับเสี่ยงนอย และพบวา พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ อันดับแรกคือ การหลีกเลี่ยงการถูกเนื้อ
             ตองตัว หรือการจับมือถือแขนกับคนรัก/เพื่อนตางเพศ ซึ่งจากการศึกษาของจรรยา เศรษฐพงษ
             เกียรติกําจร กุศล สายฝน เอกวรางกูร และปยธิดา จุลละปย (2553) กลาววา พฤติกรรมเสี่ยง
             ทางเพศ มีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับเยาวชน เนื่องจากธรรมชาติของวัย อยางไรก็ตาม การเกิดหรือไม

             เกิดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชน เกี่ยวของกับปจจัยภายในบุคคล ที่สําคัญคือ สมรรถนะ
             ดานการคิดวิเคราะห และปจจัยภายนอกบุคคล อีกทั้งวัยรุนไมสามารถควบคุมระงับอารมณ
             ความตองการทางเพศได การไดรับสิ่งกระตุนจากสื่อตาง ๆ ความเชื่อและคานิยมทางสังคมที่
             เปลี่ยนแปลงไป เชน เรื่องการรักนวลสงวนตัว และการอยูกอนแตง การอยูหางไกลจากครอบครัว

             ผูปกครอง รวมทั้งการดื่มแอลกอฮอล และการใชสารเสพติด ทําใหนักศึกษามีแนวโนมพฤติกรรม
             เสี่ยงทางเพศเพิ่มมากขึ้น (วะนิดา นอยมนตรี และนัยนา พิพัฒนวณิชชา, 2558)
                     5. ดานการรับประทานอาหาร พบวา พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ ดานการรับประทาน
             อาหารอยูในระดับเสี่ยงปานกลาง และพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ อันดับแรกคือ รับประทาน

             อาหารฟาสตฟูดส หรือน้ําอัดลม รองลงมาคือ รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ และลดน้ําหนัก โดย
             วิธียาลดน้ําหนัก/ยาระบาย ตามลําดับ สอดคลองกับแนวคิดของวิจิตร พูลเพิ่ม และ ชลลดา พันธุ
             ชิน (2552) ที่กลาววา รูปแบบการรับประทานอาหารของวัยรุนในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป จาก
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62