Page 64 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 64

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   59

                บาท/เดือน มากที่สุด คิดเปนรอยละ 54.40 ระยะเวลาเปนโรคเบาหวานและรับการรักษา
                มากกวา 6 ป มากที่สุด คิดเปนรอยละ 50.00 มีระดับน้ําตาลในเลือดนอยกวา 125 mg/dl มาก

                ที่สุด คิดเปนรอยละ 52.90 มีคาดัชนีมวลกายอยูในเกณฑน้ําหนักเกิน (25.0-29.9) มากที่สุด คิด
                เปนรอยละ 38.20 และนอกจากปวยเปนโรคเบาหวาน กลุมตัวอยางยังปวยเปนโรคประจําตัวอื่น
                รวมดวย คือ โรคความดันโลหิตสูง จํานวน 21 คน และโรคประจําตัวอื่น ๆ จํานวน 3 คน
                        พฤติกรรมการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดโดยรวมอยูในระดับ “เหมาะสมดี”
                (X =2.41) เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือดานการดูแลสุขภาพทั่วไป

                และการปองกันโรคแทรกซอน (X =2.78) รองลงมาคือ ดานการรับประทานยาและการรับการ
                ตรวจตามนัด (X =2.75) และดานการคลายความเครียด (X =2.40) สวนดานที่มีพฤติกรรมอยู
                ในระดับ “เหมาะสมปานกลาง” ไดแก ดานการรับประทานอาหาร (X =1.89) และดานการออก

                กําลังกาย (X =2.23)
                        พฤติกรรมดานการดูแลสุขภาพทั่วไปและการปองกันโรคแทรกซอนโดยรวมอยูในระดับ
                “เหมาะสมดี” (X =2.78) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่ปฏิบัติได “เหมาะสมดี” ไดแก
                การบริหารเทาโดยการนวด หมุนขอเทา กระดกปลายเทาขึ้นลงซายขวา การหาความรูเรื่อง

                สุขภาพจากสื่อ เชน ดูทีวี อานเอกสาร และพูดคุยปญหาสุขภาพกับบุคคลอื่น การตรวจเทาเพื่อดู
                บาดแผลหรือดูเล็บขบ การพกยาเบาหวาน ลูกอมหรือสารใหความหวานเวลาออกจากบานหรือ
                เมื่อเดินทางไกล การดูแลเอาใจใสสายตาและการมองเห็นของตนเอง การดูแลเอาใจใสสุขภาพ
                ปากและฟนของตนเอง การอาบน้ําทําความสะอาดรางกายตามซอกอับตาง ๆ เชน รักแร ซอกขา

                ขาหนีบและอวัยวะสืบพันธุเปนพิเศษ การดูแลเทาเมื่ออาบน้ําโดยฟอกสบูถูซอกนิ้วเทา เมื่อเวลา
                เช็ดตัวซับเทาใหแหง (X =2.50, 2.59, 2.65, 2.76, 2.87, 2.94, 2.97 และ 2.99 ตามลําดับ)
                จากการศึกษาพฤติกรรมดานการดูแลสุขภาพทั่วไปและการปองกันโรคแทรกซอนมีพฤติกรรมที่
                “เหมาะสมดี” จะเห็นไดวา ผูปวยไดรับความรูหรือคําแนะนําจากเจาหนาที่ผูใหบริการในการให

                สุขศึกษา การแลกเปลี่ยนความรูกับผูปวย จึงทําใหผูปวยมีความรูและเกิดความเขาใจในการดูแล
                สุขภาพทั่วไปและการปองกันโรคแทรกซอน  ซึ่งภาวะแทรกซอนจะมีความผิดปกติของระบบ
                ตางๆ ในรางกาย โดยเฉพาะหลอดเลือดและระบบประสาท ผูปวยเบาหวานทุกประเภทเกิด

                ภาวะแทรกซอนที่มีอันตรายและคุกคามชีวิตได ปจจัยที่สําคัญที่ทําใหเกิดภาวะแทรกซอนใน
                ผูปวยเบาหวานในระยะเวลาที่เปนโรค คือ การควบคุมโรคไมดี ระดับคอเลสเตอรอลสูง ความดัน
                โลหิตสูง การสูบบุหรี่ มีอายุมาก และสวนมากของผูสูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะมีปญหาที่
                เกิดจากภาวะแทรกซอน (เทพ หิมะทองคํา, 2547) นอกจากนี้อาจมีสาเหตุจากการไดพบเห็น
                หรือมีประสบการณตรงจากการปวยดวยตนเองเปนเวลานาน จึงทําใหกลุมตัวอยางมีความเขาใจ

                ถึงวิธีการดูแลสุขภาพของตนเองไดถูกตองมากขึ้น (กฤษณา คําลอยฟา, 2554)
                        พฤติกรรมดานการรับประทานยาและการรับการตรวจตามนัด โดยรวมอยูในระดับ
                “เหมาะสมดี” (X =2.75) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่ปฏิบัติได “เหมาะสมดี” ไดแก ยา
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69