Page 66 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 66
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017 61
จิตใจเพื่อลดความเครียดโดยการสวดมนตไหวพระ ทําบุญใสบาตร ไปวัด (เลิศมณฑนฉัตร อัคร
วาทิน, สุรางค เมรานนท และ สุทิติ ขัติยะ, 2554)
พฤติกรรมดานการรับประทานอาหารโดยรวม อยูในระดับ “เหมาะสมปานกลาง”(X =
1.89) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีการปฏิบัติได “เหมาะสมดี” ไดแก การควบคุมการ
สูบบุหรี่หรือสารเสพติด (X =2.75) รองลงมาคือ การควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล เชน
สุรา เบียร เหลาดองยา (X =2.60) ตามลําดับ สวนขอที่ปฏิบัติไมไดหรือไมสามารถควบคุมได อยู
ในระดับ “ไมเหมาะสม” ไดแก การรับประทานอาหารประเภทแปงตามความตองการโดยไม
จํากัดปริมาณ เชน ขาว เผือก มัน เปนตน การรับประทานผักสดหรือผักลวก และการรับประทาน
อาหารตรงเวลาครบ 3 มื้อทุกวัน ( X =1.65, 1.24 และ 1.06 ตามลําดับ) และจากขอคนพบนี้
จะเห็นไดวา ผูปวยสวนใหญเปนหญิงสูงอายุ ไมนิยมดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล รับประทานขาว
เหนียวเปนหลักในปริมาณที่มากเพราะจําเปนตองใชพลังงานในการทํางานตอวัน ซึ่งการเลือก
รับประทานอาหารอยางถูกตองและในปริมาณที่เหมาะสมตามหลักอาหารผูปวยเบาหวาน คือ งด
อาหารประเภทของหวาน จํากัดอาหารพวกขาว แปง เนื้อสัตว อาหารที่มีที่มีไขมัน และผักตาง ๆ
ที่รับประทานไดไมจํากัด หากปฏิบัติตนในดานการรับประทานอาหารไดถูกตองแลว จะสงผลใหมี
สุขภาพดีขึ้นและระดับน้ําตาลในเลือดลดลง (วรรณา วงศคช และเกศกานดา ศรีระษา, 2557)
สอดคลองกับการควบคุมระดับน้ําตาลของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดขอนแกน ผูปวย
เบาหวานทุกคนรับประทานขาวเหนียวเปนหลัก ผูปวยเบาหวานสวนใหญเปนผูสูงอายุ เบื่อ
อาหาร และมีปญหาสุขภาพฟน รับประทานผักนอย ปริมาณอาหารที่รับประทานมากเกินความ
ตองการพลังงานใน 1 วัน เนื่องจากอดใจไมไหว (นฤมล ผิวผาง, 2550)
พฤติกรรมดานการออกกําลังกาย โดยรวมอยูในระดับ “เหมาะสมปานกลาง” ( X
=2.23) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่ปฏิบัติได “เหมาะสมดี” ไดแก การออกกําลังกาย
แตละครั้งอยางนอย 30 นาที เริ่มตนการออกกําลังกายทีละนอยตามกําลังของตนเอง และการ
ออกกําลังกายอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาหอยางสม่ําเสมอ ( X = 2.34, 2.34 และ 2.44
ตามลําดับ) และขอที่ปฏิบัติไดบางไมไดบาง อยูในระดับ “เหมาะสมปานกลาง” ไดแก หลังออก
กําลังกายมีการผอนคลายกลามเนื้ออยางนอย 5-10 นาที งดออกกําลังกายเมื่อรูสึกไมสบาย และ
กอนออกกําลังกายมีการอบอุนรางกายอยางนอย 5-10 นาที ( X =1.91, 2.09 และ 2.24
ตามลําดับ) จะเห็นไดวา ผูปวยเบาหวานมีการปฏิบัติการออกกําลังกาย แตเมื่อศึกษาถึงหลักการ
ออกกําลังกายที่ถูกตอง กลับพบวา ผูปวยเบาหวานมีการปฏิบัติการออกกําลังกายที่ไมถูกตอง
ตามหลักการออกกําลังกาย คือ ไมมีการอบอุนรางกายกอนออกกําลังกาย และไมมีการผอน
คลายกลามเนื้อหลังออกกําลังกาย ซึ่งอาจเกิดจากความรูที่ไมเพียงพอในการใหคําแนะนําผูปวย
และมีการออกกําลังกายกันเองโดยไมมีแบบแผน ซึ่งการออกกําลังกายเปนสิ่งที่มีประโยชนตอ
การพัฒนาสุขภาพรางกายและจิตใจ และเปนสวนหนึ่งในการรักษาโรคเบาหวานทั้งชนิดพึ่ง
อินซูลินและไมพึ่งอินซูลิน (วัลลา ตันตโยทัยและอดิสัย สงดี, 2543) ผูปวยเบาหวานมีความรูวา