Page 53 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 53
48 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
สวนที่ 1 ขอมูลลักษณะสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 8 ขอ
สวนที่ 2 พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ 6 ดาน ดังนี้
1) ดานความปลอดภัยและการใชความรุนแรง จํานวน 14 ขอ
2) ดานการสูบบุหรี่และการใชสารเสพติด จํานวน5 ขอ
3) ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล จํานวน5 ขอ
4) ดานพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ จํานวน5 ขอ
5) ดานการรับประทานอาหาร จํานวน 5 ขอ
6) ดานการออกกําลังกาย จํานวน 5 ขอ
คุณภาพเครื่องมือการวิจัย
แบบสอบถามไดรับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน คาดัชนี
ความสอดคลอง (index of item objective congruence : IOC) เทากับ 0.93 (IOC รายขอ
อยูระหวาง 0.67-1.00) และนํามาปรับปรุงแกไข กอนนําไปทดลองใช (Try out) กับประชากรที่
มีคุณสมบัติคลายคลึงกับกลุมตัวอยางในการวิจัย โดยทดลองใชกับนักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพวา
รินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 30 คน หาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยคํานวณคา
,
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach s Alpha Coefficient) มีความเชื่อมั่นเทากับ
0.91
การแปลความหมายของระดับพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ โดยใชเกณฑของ สมบูรณ สุริ
ยวงศ สมจิตรา เรืองศรี และเพ็ญศรี เศรษฐวงศ (2544) ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพนอย
คะแนนเฉลี่ยต่ํากวา 1.49 หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพนอยที่สุด
ซึ่งการแปลความหมายของระดับพฤติกรรมขางตน จะนําไปใชในการอภิปรายผล
การศึกษา
งานวิจัยนี้ผานการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย วิทยาลัยการ
สาธารณสุข สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี หมายเลขใบรับรอง SCPHUB S001/2559
การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล
เก็บขอมูลวิจัยในเดือนตุลาคม - เดือนพฤศจิกายน 2559 ผูวิจัยไดทําหนังสือถึง
ผูอํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษา เพื่อขอความอนุเคราะหพื้นที่ในการเก็บขอมูล เมื่อไดรับ
อนุญาต ผูวิจัยไดเขาพบกับกลุมตัวอยาง ชี้แจงวัตถุประสงคของการศึกษา และขอความรวมมือ