Page 49 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 49

44  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

                            ดานความปลอดภัยและการใชความรุนแรง  -
                             -   ดานการสูบบุหรี่และการใชสารเสพติด

                            - ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
                            - ดานพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ
                            - ดานการรับประทานอาหาร
                            - ดานการออกกําลังกาย
                     3. ระยะเวลา ทําการศึกษาตั้งแต ตุลาคม 2558 ถึง มกราคม 2560


             ระเบียบวิธีวิจัย
                     รูปแบบการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนแบบภาคตัดขวาง Cross-Sectional Study Design

             เพื่อศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ ดานความปลอดภัย และการใชความรุนแรง การสูบบุหรี่
             และการใชสารเสพติด การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล พฤติกรรมทางเพศสัมพันธ การ
             รับประทานอาหาร การออกกําลังกาย ของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี


             ประชากรและกลุมตัวอยาง
                     ประชากรที่ศึกษา คือ นักศึกษาที่มีรายชื่อในทะเบียนนักศึกษาปการศึกษา 2559 ของ
             วิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 3,648 คน
                     กลุมตัวอยางในครั้งนี้ คํานวณขนาดตัวอยางประชากร โดยการใชสูตรการคํานวณขนาด

             ตัวอยางเพื่อประมาณคาเฉลี่ยของประชากรของ วรรณี แกมเกตุ (2556) โดยกําหนดระดับความ
             เชื่อมั่นที่ระดับ 95% และยอมใหเกิดการคลาดเคลื่อนของการประมาณคา เทากับ 0.05 ไดกลุม
             ตัวอยาง 495 คน เพื่อปองกันการตอบแบบสอบถามที่ไมสมบูรณ ผูวิจัยเพิ่มกลุมตัวอยางอีกรอย
             ละ 10 จึงไดตัวอยางรวมทั้งสิ้น 545 คน ในวิทยาลัยจากวิทยาลัยอาชีวศึกษา จังหวัด

             อุบลราชธานี 1 สถาบัน จากนั้นสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยจําแนก
             ประชากรตามระดับการศึกษาทั้งหมด 3 ระดับ ไดแก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
             ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรี (ตอเนื่อง) แบงแตละระดับ
             การศึกษาออกตามประเภทวิชาที่เรียน ไดแก บริหารธุรกิจ คหกรรม ศิลปกรรม การโรงแรม และ

             บัญชี จากนั้น แบงแตละประเภทสาขาวิชาที่เรียนออกเปนชั้นป ไดแก ชั้นปที่ 1-3 แลวสุม โดย
             การจับสลากเพื่อเลือกลําดับแรก ไดกลุมตัวอยางระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จํานวน
             308 คน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จํานวน 226 คน และระดับปริญญาตรี
             (ตอเนื่อง) จํานวน 11 คน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54