Page 56 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 56

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   51

                สรุปและอภิปรายผล
                        สรุปผลการวิจัย

                        นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี มีพฤติกรรมเสี่ยง โดยรวมอยูใน
                ระดับปานกลาง (̅ =  2. 79 ,S.D. = 0.37) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา พฤติกรรมเสี่ยงทาง
                สุขภาพอยูในระดับปานกลาง 3 ดาน อันดับแรก คือ ดานการรับประทานอาหาร (̅ =  91 ,  2 .

                S.D. = 0.59) รองลงมา คือ ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (̅ = 2.68 ,S.D. = 0.63) และ
                ดานการสูบบุหรี่และการใชสารคาเฟอีน (̅ = 2.61 ,S.D.=0.65) ตามลําดับ พฤติกรรมเสี่ยงทาง
                สุขภาพอยูในระดับนอย 3 ดาน สวนดานความปลอดภัยและการใชความรุนแรง พบวามี

                พฤติกรรมเสี่ยงนอย (̅ = 1.52 ,S.D. = 0.49)
                        อภิปรายผล
                        จากสรุปผลการวิจัย เรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา
                ในจังหวัดอุบลราชธานี มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายผล ดังนี้

                        พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
                        1. ดานความปลอดภัย และความรุนแรง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีพฤติกรรมเสี่ยง
                อยูในระดับเสี่ยงนอย อธิบายไดวา กลุมตัวอยางเมื่อขับขี่รถจักรยานยนตหรือนั่งซอนทาย

                รถจักรยานยนตจะ ไมคอยสวมหมวกนิรภัย ขับขี่รถจักรยานยนตหลังดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
                สอดคลองกับการศึกษาของ เดือนแกว ลีทองดี เสาวลักษณ ศรีดาเกษ และวัชรพล วิวรรศน เถาว
                พันธ (2553) ที่พบวา นักศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยง ดานความปลอดภัยอยูในระดับต่ํา สอดคลอง
                กับการศึกษาของบุญชนะ กลางเสนา (2559) ที่พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยง

                ดานความปลอดภัยในการใชยานพาหนะ มีพฤติกรรมเสี่ยงอยูในระดับความเสี่ยงต่ํา และจรรยา
                เศรษฐพงษ เกียรติกําจร กุศล สายฝน เอกวรางกูร และปยธิดา จุลละปย (2553) กลาววา กลุม
                ตัวอยาง มีพฤติกรรมเสี่ยงดานความปลอดภัย และความรุนแรงระดับเล็กนอย รอยละ 81.8 ซึ่ง
                ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากระบบขนสงมวลชนไมเพียงพอ หรือไมสะดวก จึงตองพึ่งพาการใชรถ

                มอเตอรไซค การขาดความตระหนักรูในความสําคัญของการปองกันตนเองจากอันตรายที่เกิด
                อุบัติเหตุจราจร (พิภพ จิตรนําทรัพย และนวลละออ วิวัฒนวรพันธ, 2553) รวมทั้งการขาดความ
                เขมงวดและความมุงมั่นในการรณรงค เพื่อสรางจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัย (วะนิดา นอย
                มนตรี และนัยนา พิพัฒนวณิชชา, 2558)

                        2. ดานการสูบบุหรี่และการใชสารเสพติด พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมเสี่ยงอยูใน
                ระดับเสี่ยงปานกลาง สอดคลองกับการศึกษาของ จรรยา เศรษฐพงษ, เกียรติกําจร กุศล, สายฝน
                เอกวรางกูร, และปยธิดา จุลละปย (2553) ที่พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมเสี่ยงดานการการ

                สูบบุหรี่ระดับปานกลาง รอยละ 19 แตไมสอดคลองกับการศึกษาของสุภาวดี สมจิตต และ
                นันทนา น้ําฝน (2556) ที่พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมเสี่ยงดานการใชสารเสพติดต่ําสุด รอย
                ละ 3.73 แตทั้งนี้ ที่ยังพบวากลุมตัวอยางบางสวนยังมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการใชสารเสพ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61