Page 55 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 55
50 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
ลักษณะทั่วไป จํานวน (คน) รอยละ(%)
ชั้นปที่ 3 85 15.60
รายไดที่ไดรับเฉลี่ยตอวัน Max = 400, Min = 40, � = 107.18, S.D. = 40.85
ยานพาหนะที่ใชประจํา
จักรยาน 30 5.50
จักรยานยนต 351 64.40
รถยนต 15 2.75
รถโดยสารประจําทาง 99 18.17
เดิน 50 9.18
สวนที่ 2 พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ 6 ดาน
พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของนักศึกษา โดยรวม มีความเสี่ยงอยูในระดับปานกลาง (̅
= 2. 79, S.D. = 0.37) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยูในระดับ
ปานกลาง 3 ดาน อันดับแรก คือ ดานการรับประทานอาหาร (̅ = 91 , 2 . S.D. = 0.59)
รองลงมา คือ ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (̅ = 2.68, S.D. = 0.63) และดานการสูบ
บุหรี่และการใชสารคาเฟอีน (̅ = 2.61 ,S.D.=0.65) ตามลําดับ พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู
ในระดับนอย 3 ดาน สวนดานความปลอดภัยและการใชความรุนแรง พบวามีพฤติกรรมเสี่ยง
นอย (̅ = 1.52 ,S.D. = 0.49) รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของนักศึกษา 6
ดาน
พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ ̅ S.D. แปลผล
ดานความปลอดภัยและการใชความรุนแรง 1.52 0.49 เสี่ยงนอย
ดานการสูบบุหรี่และการใชสารเสพติด 2.61 0.65 เสี่ยงปานกลาง
ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 2.68 0.63 เสี่ยงปานกลาง
ดานพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ 1.88 0.60 เสี่ยงนอย
ดานการรับประทานอาหาร 2.91 0.59 เสี่ยงปานกลาง
ดานการออกกําลังกาย 2.30 0.56 เสี่ยงนอย
รวม 2 . 79 0 . 37 เสี่ยงปานกลาง