Page 48 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 48

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   43

                        การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ พบวาสวนใหญศึกษาในกลุมตัวอยางที่เปน
                นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา และยังมีการศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในกลุมตัวอยางที่เปน

                นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี ไมมากนัก ซึ่งนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา
                เปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ ตามที่ระบุในแผนพัฒนาการศึกษาของ
                กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555 - 2559 ไววา ใหเรงพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาใหทันกับ
                ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2555) พฤติกรรมทาง
                สุขภาพจะสงผลตอกําลังคนในการพัฒนาประเทศ ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทาง

                สุขภาพของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อจะไดนําผลการวิจัยมาเปน
                แนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ และหามาตรการในการปองกันและแกไข
                ปญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เพื่อเปนการสรางสุขภาพที่ดีของนักศึกษาตอไป


                วัตถุประสงคของการวิจัย (Objectives)
                        เพื่อศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ ของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ในจังหวัด
                อุบลราชธานี


                กรอบแนวคิดในการวิจัย

                        ตัวแปรตน                                         ตัวแปรตาม

                                                                     พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
                        ลักษณะสวนบุคคล                       - ดานความปลอดภัย/การใชความรุนแรง

                  - เพศ                                       - ดานการสูบบุหรี่และการใชสารเสพติด
                 - อายุ
                  - ระดับการศึกษา                             - ดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล

                  - ระดับชั้นป                               - ดานพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ
                  - ประเภทวิชา                                - ดานการรับประทานอาหาร
                                                              - ดานการออกกําลังกาย


                ขอบเขตการวิจัย
                       1. ประชากร ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาที่กําลังศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษา
                จังหวัดอุบลราชธานี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

                (ปวส.) และระดับปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ปการศึกษา 2559 จํานวน 3,648 คน
                       2. ตัวแปรที่ศึกษา
                         2.1  ตัวแปรตน ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นป ประเภทวิชา
                         2.2  ตัวแปรตาม ไดแก พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ 6 ดาน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53