Page 44 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 44

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   39

                สัปดาห กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยระดับความดันโลหิต คาบน และคาลาง ต่ํากวากอนไดรับโปรแกรม
                อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

                        จากผลการวิจัยจะเห็นไดวาโปรแกรมการรับรูความสามารถตนเอง ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น มี
                ประสิทธิผลตอการเปลี่ยนแปลงการรับรูความสามารถในตนเอง และสามารถกระตุนใหเกิดพฤติกรรม
                การดูแลตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง เปนผลใหคาระดับความดัน
                โลหิตลดลง ซึ่งสงผลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของผูปวย ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถ
                นําไปประยุกตใชกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปองกันการเกิดโรคอื่น ๆ ตอไป


                ขอเสนอแนะ
                       1. ควรนําโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกตทฤษฎีการรับรูความสามารถตนเองไป

                ประยุกตใชกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปองกันการเกิดโรคอื่น ๆ เชน โรคเบาหวาน ตอไป
                       2. ควรวิจัยติดตามประเมินผลความคงทนของพฤติกรรมสุขภาพ หลังการเขารวม
                โปรแกรมสรางเสริมสุขภาพ ไปแลว 6 เดือน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตองใช
                เวลานานพอสมควรจึงจะเห็นการเปลี่ยนแปลงไดอยางชัดเจน และทราบถึงความคงทนของ

                พฤติกรรมสุขภาพ
                       3. ควรทําการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยการใหผูปวยโรคความดันโลหิตสูงมี
                สวนรวมในการวางแผนออกแบบกิจกรรมและเนื้อหาการเรียนรูที่ตองการ และมีสวนรวมในการ

                ประเมินผลพฤติกรรมตนเอง

                เอกสารอางอิง
                กนกวรรณ อุดมพิทยารัชต. (2557). โปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกตทฤษฏีการรับรูความสามารถ
                       ตนเองเพื่อสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม

                       ทราบสาเหตุ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(1), 62-72.
                กระทรวงสาธารณสุข. (2550). ขอมูลขาวสารสาธารณสุข. สํานักนโยบายและยุทธศาสตร
                       สํานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

                จันจิราภรณ วิชัย, สายสมร พลดงนอกและ กิตติศักดิ์ สวรรยาวิสุทธิ์. (2558). ความรูเรื่องโรค
                       ความดันโลหิตสูง = Hypertension. พิมพครั้งที่ 1. ขอนแกน: หนวยสรางเสริมสุขภาพ
                       งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร.
                โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลยอ. (2560). ทะเบียนผูปวยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาล
                       สงเสริมสุขภาพตําบลยอ ป 2560. ยโสธร: โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลยอ.

                ธาริณี พังจุนันท และนิตยา พันธุเวทย. (2556). ประเด็นสารรณรงควันความดันโลหิตสูงโลก.
                       นนทบุรี: สํานักโรคไมติดตอ กรมควบคุมโรค.
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49