Page 47 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 47

42  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             Abstract
                     The  objective  of  this study was  to study  the health risk  behaviors  of

             vocational students in Ubon Ratchathani. The sample was a vocational college
             students in Ubon Ratchathani. There were 545 students enrolled in the academic
             year 2559 by stratified random sampling. Data were collected by questionnaire on
             health risk behaviors of vocational students in Ubon Ratchathani province. The
             reliability of data was 0.91 and validity was = 0.930.67-1.00. The descriptive

             statistics were percentage, mean and standard deviation
                     The results showed that general health risk behaviors were in moderated
             risk level (̅ = 2.79, S.D. = 0.37). The highest risk behavior is in eating behavior (̅

             = 2.91, S.D. = 0.59), in alcoholic drinking behavior (̅ = 2.68 ,S.D. = 0.63), in
             smoking and narcotic (̅ = 2.61 ,S.D.=0.65) and risk behavior in safety and violence

             behaviors were in low level (̅ = 1.52, S.D. = 0.49).
             Keywords: Health, Health Risk Behaviors, Student, Vocational College

             บทนํา

                      การแสดงออกทางสุขภาพ หรือพฤติกรรมสุขภาพเปนสิ่งสําคัญ ที่สงผลตอภาวะ
             สุขภาพของบุคคล แตการเปลี่ยนแปลงทางดานตาง ๆ อาทิ ดานสังคม เทคโนโลยี และ
             สิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอยางรวดเร็ว กอใหเกิดพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพดาน
             ตางๆ ตามมา เชน พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพดานการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล การสูบบุหรี่

             และดานเพศสัมพันธ เปนตน ทําใหสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพอยางตอเนื่อง (สุนิสา พรมปา
             ชัด,  2556(  )
                     ปจจุบันทั่วโลกพบวาประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมากขึ้น และเปนปญหาทาง

             สาธารณสุข ที่สงผลกระทบตอการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงอายุ 13-18 ป
             ซึ่งมีจํานวนมากกวา 1,000 ลานคนทั่วโลก จากขอมูลสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา ประชาชน
             ไทยที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 10.9 ลานคน และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มี
             แอลกอฮอล 18.6 ลานคน โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น คือ จากรอยละ 32.7 ในป 2547 เปนรอยละ
             34 ในป 2558 (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2558) ทําใหนําไปสูการใชสารเสพติดชนิดอื่น ๆ รวมทั้ง

             การมีพฤติกรรมทางเพศสัมพันธเพิ่มมากขึ้น และพบวานักศึกษาอาชีวศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยงทาง
             สุขภาพมากที่สุด ดานการดื่มสุราและการใชสารเสพติด รอยละ 68.21 รองลงมาคือ ดานการสูบ
             บุหรี่ รอยละ 64.96 ดานความปลอดภัยและความรุนแรง รอยละ 48.86 ดานพฤติกรรมทางเพศ

             รอยละ 32.21 ดานการรับประทานอาหาร รอยละ 10.27 และดานการออกกําลังกาย รอยละ
             8.79 (จรรยา เศรษฐพงษ, เกียรติกําจร กุศล, สายฝน เอกวรางกูร, และปยธิดา จุลละปย, 2553)
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52