Page 41 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 41

36  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             นัยสําคัญทางสถิติ (p-value<0.01) สวนพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอน
             จากโรคความดันโลหิตสูง พบวา กอนการทดลอง กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแล

             ตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง 2.73 (S.D = .39) หลังการทดลองมี
             คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเปน 3.77 (S.D = .52) ซึ่งเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p-value<0.01)
             ดังตารางที่ 2

             ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถตนเองและพฤติกรรมการดูแล

             ตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง กลุมทดลอง กอนและหลังการ
             ทดลอง
                          ตัวแปร               กอนทดลอง      หลังทดลอง       t      P-value

                                               X      S.D.    X      S.D.
               1. การรับรูความสามารถตนเอง    2.51    .23    4.21     .56   -30.56    .000
               2.พฤติกรรมการดูแลตนเอง         2.93    .39    3.78     .52    -8.93    .000

                       2.2 หลังการทดลองกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถตนเอง และ
             พฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง มากกวากลุม

             เปรียบเทียบ ดังตารางที่ 3

             ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถตนเอง และพฤติกรรมการดูแล

             ตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง ระหวางกลุมทดลองและกลุม
             เปรียบเทียบ หลังการทดลอง
                        ตัวแปร            n    X   S.D.     Mean       t      95% CI      p-
                                                         Difference                      value
               1. การรับรูความสามารถตนเอง
                  กลุมทดลอง             44  4.21  .56      1.43     20.23  1.29 ถึง 1.57   .000
                  กลุมเปรียบเทียบ       44  2.79  .30
               2. พฤติกรรมการดูแลตนเอง
                  กลุมทดลอง             44  3.78  .52       .94      9.32  7.40 ถึง 1.14   .000
                  กลุมเปรียบเทียบ       44  2.83  .43


                     3. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต
                       3.1 หลังการทดลอง กลุมทดลองมีระดับความดันโลหิตลดลงกวากอนการทดลอง
             อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.01)  ดังตารางที่ 4
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46