Page 43 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 43
38 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
บุคคลสองคนมีความสามารถไมแตกตางกัน แตอาจแสดงออกในคุณภาพที่แตกตางกันได ซึ่ง
พบวาคนสองคนนั้นมีการรับรูความสามารถของตนเองแตกตางกันในคน ๆ เดียว ก็เชนกัน ถา
การรับรูความสามารถของตนเองในแตละสภาพการณแตกตางกันเชนกัน สอดคลองกับผล
การศึกษาของ กนกวรรณ อุดมพิทยารัชต (2557) ที่ศึกษาโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกตทฤษฎี
การรับรูความสามารถตนเองเพื่อสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูปวยโรคความดัน
โลหิตสูงชนิดไมทราบสาเหตุ พบวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีการเปลี่ยนแปลงดานการ
รับรูความสามารถตนเอง การรับรูผลดีของการออกกําลังกาย และพฤติกรรมการออกกําลังกาย
เพิ่มขึ้นมากกวากอนการทดลองและมากกวากลุมเปรียบเทียบ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(p<0.001)
พฤติกรรมการดูแลตนเอง พบวา หลังการทดลอง กลุมทดลองมีพฤติกรรมการดูแล
ตนเอง เพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง มากกวากอนการทดลอง และ
มากกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย
อธิบายไดวา เปนผลจากการดําเนินกิจกรรมตามโปรแกรมการรับรูความสามารถตนเอง การดูแล
ตนเองจะชวยใหผูปวยโรคความดันโลหิตสูงตระหนักถึงความสําคัญของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่
เหมาะสม สอดคลองกับผลการศึกษาของ ยุภาพร นาคกลิ้ง, ทัศนีย รวิวรกุล, พิมพสุรางค เตชะ
บุญเสริมศักดิ์ และวราภรณ เสถียรนพเกา (2555) ที่ศึกษาผลของการประยุกตทฤษฎี
ความสามารถตนตอพฤติกรรมการควบคุมอาหาร การออกกําลังกาย และระดับความดันโลหิต
ของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง พบวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลอง มีคะแนนเฉลี่ย
พฤติกรรมการควบคุมอาหารและการออกกําลังกายสูงกวากอนการทดลอง และสูงกวากลุม
เปรียบเทียบ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.001) ความดันโลหิต พบวา หลังการทดลอง กลุม
ทดลองมีระดับความดันโลหิตลดลง กวากอนการทดลอง และลดลงกวากลุมเปรียบเทียบ อยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย อธิบายไดวาเปนผลจากการดําเนิน
กิจกรรมตามโปรแกรมการรับรูความสามารถตนเอง การที่กลุมทดลองไดปฏิบัติตัวที่ถูกตอง จาก
การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม รวมกับการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ จึงสงผลใหระดับ
ความดันโลหิตลดลงจากเดิม กลุมทดลองไดออกกําลังกายสัปดาหละ 5 วัน แตละครั้งทํา
ติดตอกันยาวนาน 30 นาที การออกกําลังกายจึงชวยใหหลอดเลือดมีการยืดหยุน การไหลเวียน
ของเลือดที่ไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกายดีขึ้น ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ราตรี ผลสาลี่
(2553) ที่ศึกษาผลของการรับรูความสามารถตนเองรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการ
สงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ชมรมผูสูงอายุไรขิงเมตตา
ประชารักษ พบวา ภายหลังการทดลอง ระดับความดันโลหิตลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(p<0.001) และสอดคลองกับผลการศึกษาของ สุนันทา ศรีศิริ (2555) ที่ศึกษาผลของโปรแกรม
การสงเสริมสมรรถนะแหงตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผูสูงอายุโรคความดันโลหิต
สูง ศูนยบริการสาธารณสุข 19 วงศสวาง กรุงเทพมหานคร พบวา ภายหลังการทดลอง 12