Page 42 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 42
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017 37
ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบระดับความดันโลหิต ของกลุมทดลอง กอนและหลังการทดลอง
กอนทดลอง หลังทดลอง
ตัวแปร t P-value
X S.D. X S.D.
ความดันไดแอสโตลิค (Diastolic) 94.16 3.38 87.86 4.97 7.42 .000
ความดันซีสโตลิค (Systolic) 161.63 6.67 156.91 6.81 3.63 .001
3.2 หลังการทดลอง กลุมทดลองมีระดับความดันโลหิตลดลงกวากลุมเปรียบเทียบ อยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบระดับความดันโลหิต ระหวางกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบ
หลังการทดลอง
ตัวแปร n X S.D. Mean t 95% CI p-
Difference value
1. ความดันไดแอสโตลิค
กลุมทดลอง 44 87.86 4.97 -4.39 -4.55 -6.30 ถึง - .000
กลุมเปรียบเทียบ 44 92.25 4.02 2.47
2. ความดันซีสโตลิค
กลุมทดลอง 44 156.91 6.81 -6.41 -4.41 -9.30 ถึง - .000
กลุมเปรียบเทียบ 44 163.32 6.82 3.52
อภิปรายผลการวิจัย
การรับรูความสามารถตนเอง จากผลการวิจัยพบวา หลังการทดลอง กลุมทดลองมี
คะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถตนเอง มากกวากอนการทดลอง และมากกวากลุม
เปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย อธิบายไดวา เปน
ผลจากการดําเนินกิจกรรมตามโปรแกรมการรับรูความสามารถตนเอง ซึ่งกลุมตัวอยางที่เขารวม
กิจกรรมไดรับการใหความรูและจัดประสบการณตรง โดยการสาธิตและฝกทักษะการเลือกอาหาร ฝก
ทักษะการออกกําลังกาย การใชตัวแบบผูปวยโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมถูกตองควบคุมความ
ดันได แลกเปลี่ยนประสบการณ มีการพูดจูงใจ การประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางสรีระวิทยา
และการติดตามเพื่อกระตุนเตือนการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเอง ความรูเกี่ยวกับโรคความดัน
โลหิตสูง เสริมสรางความรูความเขาใจมากยิ่งขึ้น ทําใหกลุมทดลองเกิดความเชื่อมั่นวาหากปฏิบัติ
ตามคําแนะนําของตัวแบบที่ประสบความสําเร็จ ก็จะสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได
เหมือนบุคคลที่เปนตัวแบบ สอดคลองกับแนวคิดพื้นฐานตามทฤษฎี Self - Efficacy ของ
Bandura (1977) ที่เชื่อวาการรับรูความสามารถของตนเองนั้นมีผลตอการกระทําของบุคคล ถา