Page 37 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 37
32 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
สมมติฐานการวิจัย
ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรูความสามารถตนเองและ
พฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อปองกันภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง มากกวากอนการ
ทดลอง และมากกวากลุมเปรียบเทียบ และระดับความดันโลหิต ลดลงกวากอนการทดลอง และ
ลดลงกวากลุมเปรียบเทียบ
กรอบแนวคิดการวิจัย
ตัวแปรตน ตัวแปรตาม
โปรแกรมการรับรูความสามารถตนเอง ประกอบดวย
1. การใหความรูและจัดประสบการณตรง พฤติกรรมการดูแลตนเอง
- การสาธิตและฝกทักษะการเลือกอาหาร 1. ดานการควบคุมอาหาร
- การสาธิตและฝกทักษะการออกกําลังกาย 2. ดานการออกกําลังกาย
2. การใชตัวแบบ
- ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมถูกตองควบคุม 3. ดานการรับประทานยา
ความดันได
- จากตัวแบบของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงในกลุมที่ ระดับความดันโลหิต
ประสบความสําเร็จ
3. การพูดจูงใจ
4. การประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางสรีระวิทยา
5. การติดตามเพื่อกระตุนเตือนการปฏิบัติกิจกรรมการ
ดูแลตนเอง
รูปที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย
วิธีดําเนินการวิจัย
เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) แบบสองกลุม วัดสองครั้ง กอนและ
หลังการทดลอง
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม
ทราบสาเหตุ ที่มาใชบริการที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลยอ อําเภอคําเขื่อนแกว และ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลโพนทัน อําเภอคําเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร เนื่องจาก 2
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลมีการใหบริการในรูปแบบที่คลายคลึงกัน เนื่องจากเจาหนาที่