Page 35 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 35

30  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             บทนํา
                     จากรายงานการเฝาระวังโรคไมติดตอเรื้อรัง พ.ศ. 2555 (Chronic Diseases

             Surveillance Report, 2012) โดย สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
             พบวาในป พ.ศ. 2555 ผูปวยโรคไมติดตอเรื้อรัง 5 โรครายใหม มีจํานวนรวม 1,009,002 ราย
             โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราปวยสูงสุด จํานวน 602,548 ราย อัตราปวย 937.58 ตอประชากร
             แสนคน รองลงมาคือ โรคเบาหวาน จํานวน 336,265 ราย อัตราปวย 523.24 ตอประชากรแสน
             คน (สํานักโรคไมติดตอ, 2560)

                     ความดันโลหิตสูงเปนโรคที่ทําใหเกิดการตาย และทุพพลภาพที่สําคัญที่สุดทั่วโลก โรค
             ความดันโลหิตสูงเปนภาวะที่พบไดบอยขึ้นในปจจุบัน โดยเฉพาะในเมืองใหญผูคนอยูกันแออัด
             และมีภาวะการดํารงชีพที่มีการแขงขันสูง สิ่งแวดลอมที่เปนภัยตอสุขภาพ และการรับประทาน

             อาหารที่ไมถูกสุขอนามัย โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ระดับความดันโลหิต
             ซิสโตลิก (Systolic Blood Pressure, SBP) >140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโต
             ลิก (Diastolic Blood Pressure, DBP) >90 มม.ปรอท (สมาคมความดันโลหิตสูงแหงประเทศ
             ไทย, 2558) โรคความดันโลหิตสูง แบงออกเปนสองชนิดคือ ชนิดที่ทราบสาเหตุ และชนิดที่ไม

             ทราบสาเหตุ ซึ่งชนิดที่ทราบสาเหตุนั้นเกิดจากโรคไต หลอดเลือดไตตีบตัน ความผิดปกติของ
             ฮอรโมน หลอดเลือดหัวใจ และระบบประสาทผิดปกติ (จันจิราภรณ วิชัย, สายสมร พลดงนอก
             และกิตติศักดิ์ สวรรยาวิสุทธิ์, 2558)
                     คนจํานวนมากมีภาวะความดันดันโลหิตสูงโดยที่ไมทราบวาตนเองมีภาวะนี้ เนื่องจาก

             เปนโรคที่ไมคอยปรากฏอาการที่ชัดเจนในชวงแรก แตเมื่อปลอยนานไปโดยไมไดรับการดูแล
             รักษา แรงดันในหลอดเลือดที่สูง จะไปทําลายผนังหลอดเลือดและอวัยวะที่สําคัญทั่วรางกาย จึง
             เรียกโรคนี้กันวา “เพชฌฆาตเงียบ” (ธาริณี พังจุนันท และนิตยา พันธุเวทย, 2556) รอยละ 70
             ไมทราบวาตนเองเปนโรคความดันโลหิตสูงเพราะไมมีอาการผิดปกติใด ๆ จึงทําใหผูปวยเหลานี้

             ไมไดรับการรักษาหรือไมไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติตนที่ถูกตอง เพื่อลดระดับความดันโลหิตที่
             สูงใหกลับสูภาวะปกติและเหมาะสม จึงนําไปสูการเกิดโรคแทรกซอนที่สืบเนื่องมาจากโรคความ
             ดันโลหิตสูงตามมาอีกมากมาย อาทิ อัมพฤกษ อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ และโรคหลอด
             เลือดหัวใจตีบ ซึ่งอาจมีอันตรายรายแรงถึงขั้นทําใหเสียชีวิตได (กระทรวงสาธารณสุข, 2550)

             ภาวะแทรกซอนที่พบสูงสุด คือ ภาวะแทรกซอนทางหัวใจ รองลงมา คือ ภาวะแทรกซอนทางไต
             และภาวะแทรกซอนหลายดาน (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข, 2555)
             โดยเฉพาะภาวะแทรกซอนทางหัวใจ พบวาความดันโลหิตสูงเปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญที่สุดของการ
             เกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ไดถึงรอยละ 50 (World Heart Federation, 2014) ดังนั้น

             ในการปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ ดังกลาว จึงควรมุงเนนที่การควบคุมระดับความดัน
             โลหิตใหอยูในเกณฑที่เหมาะสม โดยการใหยาควบคูไปกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของ
             ผูปวย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40