Page 55 - JRIHS_VOL1
P. 55
50 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017
กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework)
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ตัวแปรตาม Dependent Variables)
โปรแกรมสุขศึกษาโดยการประยุกต์ทักษะชีวิต ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ประกอบด้วย
ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันโรคเอดส์ใน 4 ด้าน
สัปดาห์ที่ 1-2 การให้แรงสนับสนุนทางสังคมโดยการแจกคู่มือ
1. การตระหนักรู้ในตนเอง
ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันโรคเอดส์ และเยี่ยมให้กําลังใจ
2. ความสามารถด้านการคิดและการ
สัปดาห์ที่ 3 – 12 ดําเนินการตามโปรแกรมสุขศึกษา ตามกิจกรรม
ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
การเรียนรู้ 4 กิจกรรม ดังนี้ 3. ความสามารถด้านการสื่อสารเพื่อป้องกัน
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง “โรคเอดส์คืออะไร” โรคเอดส์
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง “ความเสี่ยงของฉัน” 4. ความตั้งใจที่จะกระทําในการป้องกัน
กิจกรรมที่ 3 เรื่อง “ก้าวร้าวหรือ ยินยอมแต่โดยดี หรือ ยืนยันใน
ตนเอง” โรคเอดส์
กิจกรรมที่ 4 เรื่อง “เป้าหมายสู่ความสําเร็จ”
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปทุมพิทยาคม
ดําเนินการศึกษาระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จํานวน 182 คน
กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปทุมพิทยาคม ดําเนิน
การศึกษาระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จํานวน 66 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มทดลอง จํานวน 33 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จํานวน 33 คน
การคํานวณขนาดตัวอย่าง (n1 และ n2 เท่ากันคือ 32) ใช้สูตรการคํานวณขนาด
ตัวอย่างเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย กรณี 2 กลุ่มประชากรที่เป็นอิสระต่อกัน (อรุณ
จิรวัฒน์กุล, 2551) จากสูตร
n/กลุ่ม = 2(Zα+Zβ)2 σ
2
2
∆
โดยกําหนดให้
n = จํานวนตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม
Zα = ค่าสถิติของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ดังนั้น =
1.64