Page 63 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 63

58  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018

                     2. ผลการศึกษาคุณภาพของงบการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใน
             ประเทศไทย โดยรวม อยูในระดับมาก ไดแก ความเขาใจได ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ความ

             เชื่อถือได และการเปรียบเทียบกันได เนื่องจากคุณภาพของงบการเงินเปนการรายงานผลการ
             ดําเนินงานฐานะทางการเงิน งบแสดงกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวน
             ของผูถือหุน งบประกอบหรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน และการนําเสนอขอมูลทางการเงิน งบ
             การเงินที่มีประโยชนตอผูใชงบการเงิน มีความเขาใจไดงาย ขอมูลเชื่อถือได ขอมูลสามารถ
             เปรียบเทียบได และเปนขอมูลใหผูบริหารใชในการตัดสินใจ

                     ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ ธิราวรรณ วิวัฒนากรวงศ (2558, น.7) กลาววา คุณสมบัติที่ทํา
             ใหขอมูลในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงินซึ่งประกอบดวย ความเขาใจ ความเกี่ยวของกับ
             การตัดสินใจ ความเชื่อถือได การเปรียบเทียบได ความเขาใจกันได และสอดคลองกับ ชนากานต

             มงคลพร (2558, น.21) กลาววา คุณภาพของขอมูลทางบัญชีที่มีประโยชนตอการตัดสินใจ (value
             relevance of accounting information) มุงสนใจไปยังสัดสวนของผลตอบแทนของหุนที่อาจจะ
             ไดรับ อันเนื่องมาจากการคาดการณจากมูลคาของขอมูลที่มีในรายงานการเงิน และสอดคลองกับ
             Shahwan (2008, p.129-202) กลาววา ลักษณะเชิงคุณภาพที่บงบอกวาขอมูลในงบการเงินมี

             ประโยชนตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชงบการเงิน และสอดคลองกับ นันทิยา อังกุรวัฒนานุ
             กุล (2557, น.31-35) กลาววา ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงินมี 4 ประการ ไดแก ความเขาใจ
             ได ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ความเชื่อถือได และการเปรียบเทียบกันได
                     3.  ผลการศึกษาผลกระทบการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ที่มี

             ผลตอคุณภาพของงบการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทยโดยรวม
             รายดาน พบวา
                       1) การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ของระบบการบัญชีแยก
             ประเภท มีผลกระทบกับคุณภาพของงบการเงิน ในเรื่อง ความเขาใจได ความเชื่อถือได และการ

             เปรียบเทียบกันได เนื่องจากเปนโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีที่สามารถเก็บขอมูลและเอกสารทาง
             บัญชีสําหรับการบันทึกรายการในระบบ และสามารถบันทึกรายการโดยตรงโดยไมตองผานระบบอื่น
             การปดบัญชีและงบการเงินทําไดถูกตองและทันเวลา ขอมูลเชื่อถือได โปรแกรมสามารถออกงบ
             การเงิน มีการเปรียบเทียบขอมูลยอนหลังได และนําเสนอรายงานสถานะทางการเงินที่ทําใหเขาใจถึง

             ขอมูลในรายงานการเงินได เพื่อใชในการพยากรณสถานะทางการเงินสําหรับผูบริหารไดงาย ซึ่ง
             สอดคลองกับ เกษวรางค ญาณนาคะวัฒน (2553, น.11) กลาววา เปนแกนของระบบบัญชีทั้งหมด
             โดยปกติจะใชงานระบบเดียว หรือใชงานรวมกันกับระบบงานบัญชียอยอื่นก็ได ระบบบัญชีแยก
             ประเภทนี้ใชในการดูแลและควบคุมการดําเนินงานของธุรกิจ เนื่องจากแสดงใหเห็นภาพรวมทาง

             การเงินของธุรกิจทั้งระบบ และสอดคลองกับ พรปวีณ สายพรหม (2558, น.15) กลาววา การจัดการ
             ประเภท การกําหนดลักษณะ การนําเสนอขอมูลอยางชัดเจนและกระชับ ทําใหเมื่อมีการอานขอมูล
             นั้น สามารถเขาใจไดทันที และสอดคลองกับงานวิจัยของ นันทิยา อังกุรวัฒนานุกุล (2557, น.80-86)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68