Page 58 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 58

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   53

                เกี่ยวของกับการตัดสินใจและเที่ยงธรรมของสิ่งที่ตองนําเสนอ ประโยชนของขอมูลทางการเงินจะ
                เพิ่มขึ้น ถาขอมูลนั้นเปรียบเทียบได พิสูจนยืนยันได ทันเวลาและเขาใจได คุณสมบัติที่ทําใหขอมูล

                ในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงิน มี 4 ประการ
                ไดแก 1) ความเขาใจ (Understandability)  2) ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (Relevance) 3) ความ
                เชื่อถือได (Reliability) 4) การเปรียบเทียบกันได (Comparability) (นันทิยา อังกุรวัฒนานุกุล, 2557,
                น.31-35) คุณภาพของขอมูลทางการเงินสามารถใชหลักเกณฑลักษณะเชิงคุณภาพรวม การบัญชี
                ประกอบดวย ความเขาใจได ความเกี่ยวของ และความเชื่อถือได กลาวไดวาวัตถุประสงคของรายงาน

                ทางการเงินเพื่อใหไดขอมูลที่เปนประโยชนในการตัดสินใจ รวมถึงกระบวนการรายงานการเงิน มีผล
                ตอความนาเชื่อถือของขอมูลและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สําหรับกระบวนการรายงาน
                การเงินประกอบดวย 1) เหตุการณและรายการทางธุรกิจของกิจการ 2) การเลือกนโยบายทางบัญชี 3)

                การประยุกตใชนโยบายทางบัญชี 4) การประมาณการและการใชดุลยพินิจ และ 5) การเปดเผย
                เกี่ยวกับรายการ เหตุการณ นโยบาย การประมาณการและการใชดุลยพินิจ (Jonas and Blanchet,
                2000, น.353-363)
                        มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดดําเนินการจัดการศึกษาและบริการวิชาการ

                พระพุทธศาสนาแกสังคม และไดรับการตรวจรับรองจากคณะกรรมการตรวจประกันคุณภาพ
                การศึกษาทั้งภายในและภายนอก จากนโยบายของภาครัฐและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
                (สกอ.) ตามโครงสรางของมหาวิทยาลัย ไดแบงการบริหารออกเปน 6 สวนงานหลัก ๆ คือ สํานักงาน
                อธิการบดี  ประกอบดวย 13 หนวยงาน หนึ่งในหนวยงานที่สําคัญ คือ กองคลังและทรัพยสิน โดยมี

                หนาที่การบริหารงบการเงินและจัดทําบัญชี ในอดีตไดมีการจัดทําบัญชีดวยมือ (Manual
                Accounting System) และใชโปรแกรมบัญชีคอมพิวเตอร Excel แตกอนไมมีกระบวนการและไมมี
                โปรแกรมสําเร็จรูปในการจัดทําบัญชีและงบการเงิน สงผลใหมีการทํางานผิดพลาด เชน การเขียน
                ตัวเลขผิด ทําเอกสารสําคัญหาย อันเปนเหตุทําใหการทํางานชาไป ซึ่งขอมูลทางการบัญชีนั้นมี

                ความสําคัญตอการตัดสินใจและใชในวางแผนตาง ๆ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงไดนําเอาเทคโนโลยีเขามา
                ชวยในการประมวลผลในการจัดทําบัญชี คือ ระบบคอมพิวเตอรและโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชี
                มาประยุกตใชกับงานบัญชี จึงทําใหเกิดโปรแกรมสําเร็จรูป (FORMULA) ใชในการจัดทําบัญชี โดยมี
                วัตถุประสงคใหการจัดทํางบแสดงสถานะทางการเงินมีความรวดเร็วในการจัดทํา เพื่อนําขอมูลที่

                เกิดขึ้นไปใชในการบริหารและการวางแผน ซึ่งขอมูลงบการเงินเปนประโยชนตอการตัดสินใจและ
                ความเขาใจของผูบริหาร ขอมูลงบการเงินมีความเชื่อถือได และความเปรียบเทียบกันได จึงสงผลตอ
                คุณภาพงบการเงิน มีความสําคัญตอการตัดสินใจของผูบริหาร (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
                วิทยาลัย, 2559)

                        จากเหตุผลที่กลาวมาแลวขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลกระทบการใชโปรแกรม
                สําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ที่มีผลตอคุณภาพงบการเงิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา
                ลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย เพื่อใหผูบริหารไดตระหนักถึงความสําคัญในงานการเงินและ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63