Page 59 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 59
54 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018
บัญชี และสามารถนําขอมูลรายงานงบการเงินไปใชในการกํากับดูแล ตัดสินใจ เปรียบเทียบ และ
พัฒนางานดานการบัญชี และระบบโปรแกรมสําเร็จรูป รวมทั้งเปนแนวทางในการบริหารการใช
จายเงินงบประมาณใหถูกตองตามระเบียบตอไป
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ของมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย
2. เพื่อศึกษาคุณภาพงบการเงิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศ
ไทย
3. เพื่อศึกษาผลกระทบการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ที่มีผล
ตอคุณภาพงบการเงิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย
ขอบเขตงานวิจัย
ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบดวย
1. ตัวแปรอิสระ ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA ) โดยประยุกต
แนวคิด (บริษัท คริสตอลฟอรมูลา จํากัด, 2559) ประกอบดวย 1) ระบบบัญชีแยกประเภท Super
GL General Ledger (GL) 2) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information
Systems—MIS)
2. ตัวแปรตาม ไดแก คุณภาพงบการเงิน (Financial Statement Quality) โดยประยุกต
แนวคิดของ นันทิยา อังกุรวัฒนานุกุล (2557, น.31-35) ประกอบดวย 1) ความเขาใจได
(Understandability) 2) ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (Relevance) 3) ความเชื่อถือได (Reliability)
4) การเปรียบเทียบกันได (Comparability)
กรอบแนวคิดในการวิจัย
โปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ คุณภาพงบการเงิน
(FORMULA) (Financial Statement Quality)
1.ระบบบัญชีแยกประเภท 1. ความเขาใจได (Understandability)
Super GL General Ledger (GL) 2. ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (Relevance)
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management 3. ความเชื่อถือได (Reliability)
Information Systems—MIS) 4. การเปรียบเทียบกันได (Comparability)
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย