Page 61 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 61

56  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018

             ประสบการณดานการทํางาน ระหวาง 10-19 ป ตําแหนงงานในปจจุบันเปน บุคลากรปฏิบัติงานดาน
             บัญชี และสังกัดวิทยาลัยสงฆ เปนสวนใหญ

                     2. ผลการศึกษาการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ของ
             มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทยโดยรวมมีคาเฉลี่ย อยูในระดับมาก เมื่อ
             พิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก ทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย
             ไดแก ดานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ดานระบบบัญชีแยกประเภท
                     3. ผลการศึกษาคุณภาพของงบการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใน

             ประเทศไทย โดยรวมมีคาเฉลี่ย อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก ทุก
             ดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดแก ความเชื่อถือได การเปรียบเทียบกันได ความ
             เขาใจได และความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ

                     4. ผลการศึกษาผลกระทบการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ที่มี
             ผลตอคุณภาพของงบการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย พบวา
                       4.1 การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ระบบบัญชีแยก
             ประเภท และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ความเขาใจ

             ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
                       4.2 การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ระบบบัญชีแยก
             ประเภทไมมีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ และระบบ
             สารสนเทศเพื่อการจัดการ มีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ

             อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
                       4.3 การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ระบบบัญชีแยก
             ประเภทมีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ความเชื่อถือได อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
             0.01 และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ไมมีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ความเชื่อถือ

             ได
                       4.4 การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ระบบบัญชีแยก
             ประเภทและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีผลกระทบเชิงบวกตอคุณภาพงบการเงิน ดานการ
             เปรียบเทียบกันได อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

                     5. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
                       5.1  โปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) เปนโปรแกรมระบบบัญชี
             แบบธุรกิจ เหมาะสําหรับการใชงานขององคกรแสวงหากําไร และยังไมมีการเชื่อมโยงและครอบคลุม
             ตอทุกสวนงาน เชน สวนงานงบประมาณ การเงิน การบัญชี และพัสดุ เปนตน จึงควรพัฒนา

             โปรแกรมสําเร็จรูปที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลทุกสวนงาน เพื่อใหการเรียกใชขอมูลของสวนงานตาง ๆ
             มีความตอเนื่องและเกิดประสิทธิภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา
             ลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66