Page 60 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 60

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   55

                วิธีดําเนินการวิจัย
                        1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

                        ประชากร (Population) ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้กําหนดใหมหาวิทยาลัยเปนหนวยตัวอยาง
                โดยหนวยยอย คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนกองคลังและทรัพยสินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
                กรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย จํานวน 44 แหง แหงละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 132 คน (มหาวิทยาลัย
                มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559)
                        กลุมตัวอยาง (Sample) ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนกองคลัง

                และทรัพยสิน ประกอบดวย ผูอํานวยการกองคลังและทรัพยสินหรือหัวหนาฝาย บุคลากรที่
                ปฏิบัติงานดานบัญชี และบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
                วิทยาลัยในประเทศไทย กําหนดขนาดตัวอยางโดยเปดตารางของเครซี่และมอรแกน (จําเริญ อุนแกว,

                2553, น.8-9) ไดจํานวน 36 แหง ตามสัดสวนของกลุมมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใน
                ประเทศไทย โดยมีผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informant) คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนกองคลังและ
                ทรัพยสิน ประกอบดวย ผูอํานวยการสวนคลังและทรัพยสินหรือหัวหนาฝาย บุคลากรที่ปฏิบัติงาน
                ดานบัญชี และบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานการเงิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใน

                ประเทศไทย แหงละ 3 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 108 คน
                        2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของบุคลากรที่
                ปฏิบัติงานในสวนกองคลังและทรัพยสิน โดยครอบคลุมขอมูลเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษา
                ประสบการณในการทํางาน ตําแหนงงานในปจจุบัน และประเภทสังกัด ตอนที่ 2 ความคิดเห็นตอ

                ประโยชนของการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของ
                การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ตอคุณภาพงบการเงิน ตอนที่ 4 ปญหา
                และขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA) ผูวิจัยไดนํา
                เครื่องมือไปทดลองกับประชากรที่มิใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน ดานความเที่ยงตรง คา IOC อยู

                ระหวาง 0.60 ถึง 1.00 และดานความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม เทากับ 0.91
                        3. การเก็บรวบรวมขอมูล ดําเนินการจัดเก็บแบบสอบถาม จํานวน 108 ฉบับ โดยวิธีลง
                พื้นที่เก็บขอมูลกับกลุมตัวอยาง ในการประชุมเพื่อรับฟงคําชี้แจงของเจาหนาที่สํานักงานตรวจเงิน
                แผนดินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จํานวน 2 วัน ใหกับกลุมตัวอยาง

                        4. การวิเคราะหขอมูล ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป โดยการหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวน
                เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหการถดถอยแบบพหุคูณ

                สรุปผลการวิจัย

                        1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวา ผูตอบแบบสอบถามที่เปนบุคลากรที่
                ปฏิบัติงานในสวนกองคลังและทรัพยสิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศ
                ไทย สวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุ 30-39 ป และอายุ 40-49 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรี มี
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65