Page 55 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 55

50  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018

                   ผลกระทบการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ (FORMULA)

                ที่มีผลตอคุณภาพงบการเงินของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                                             ในประเทศไทย

              Impact of Using the Government Accounting Program (FORMULA)
                              on Quality of Financial Statements of

                    Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Thailand

                                                          2
                                                                                         4
                                        1
                                                                     3
                          วิจิตรา แกวแสน0 , สุภัทรษร ทวีจันทร1 ,ลินดา ราเต , นนทยา อิทธิชินบัญชร
                                                     1
                                                                             2
                                                                                         3
                                     Vijittra Keawsaen , Supatsorn Taweechan , Linda Rate ,
                                                                 Nontaya Ittichinbanchorn
                                                                                         4

             บทคัดยอ
                     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ
             (FORMULA) ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาคุณภาพ

             การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ และ 3) เพื่อศึกษาผลกระทบการใชโปรแกรม
             สําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ ที่มีผลตอคุณภาพงบการเงิน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ
             บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสวนกองคลังและทรัพยสิน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
             ในประเทศไทย จํานวน 108 คน ใชวิธีการแบงขนาดกลุมตัวอยางตามสัดสวนแบบชั้นภูมิ เครื่องมือ

             ที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ
             0.91 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
             การวิเคราะหการถดถอยแบบพหุคูณ
                      ผลการวิจัย พบวา 1) การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐของมหาวิทยาลัย

             มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย ไดแก ระบบบัญชีแยกประเภท และระบบ
             สารสนเทศเพื่อการจัดการ มีคาเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับมาก 2) คุณภาพของงบการเงินของ
             มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในประเทศไทย ความเขาใจได ความเกี่ยวของกับ
             การตัดสินใจ ความเชื่อถือได และการเปรียบเทียบกันได มีคาเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับมาก

             และ 3) การวิเคราะหผลกระทบ พบวา การใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางการบัญชีภาครัฐ ประเภท

             1  นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบัญชี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (Graduate Student
             of Accounting Program, Department of Accounting, Faculty of Business Administration and
             Accounting, Sisaket Rajabhat University)
             2,3,4  ผูชวยศาสตราจารย ดร., คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (Assistant
             Professor Dr. ,  Faculty of Business  Administration and  Accounting,  Sisaket Rajabhat
             University)
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60