Page 57 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 57

52  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             ทําความสะอาดแผลดวยน้ําตมสุก หรือน้ําเกลือลางแผล (X̅=3.14, SD.=0.91) ใชน้ํายาเบทาดีน
             ใสแผล นอยที่สุด (X̅=2.32, SD.=0.93) และ ตามลําดับ


             สรุปและอภิปรายผล
                     ผูปวยโรคเบาหวานในพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนอง
             บอสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 60-69 ป มีสถานภาพสมรสคู ปวยเปนเบาหวาน
             มากกวา 5 ป ไมสูบบุหรี่ ผูปวยเบาหวานสวนใหญไมเคยเขารับรักษาในโรงพยาบาลดวยเรื่องแผล

             ที่เทา เคยไดรับคําแนะนําเรื่องการดูแลเทา และมีพฤติกรรมการดูแลเทาภาพรวมทุกดานอยูใน
             ระดับปานกลาง (X̅=3.16, SD.=0.80) สอดคลองกับการศึกษาของอโนทัย ผลิตนนทเกียรติ
             (2560) จิตรานนท โกสียรัตนาภิบาล (2554) ที่พบวาผูปวยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมในการดูแล

             เทาโดยรวมอยูในระดับปานกลาง  ซึ่งถึงแมวาในการศึกษาครั้งนี้ผูปวยสวนใหญ (รอยละ 90.8)
             เคยไดรับคําแนะนําเรื่องการดูแลเทา แตอาจตองพิจารณาวิธีการใหความรูของบุคลากรทาง
             สุขภาพ ความรูสึก และความสามารถในการนําความรูไปปฏิบัติไดของผูปวยเบาหวาน ดังเชน
             การศึกษาของ จิตรานนท โกสียรัตนาภิบาล (2554) ที่พบวาพยาบาลมีภาระงานที่มากทําให

             ระบบการใหความรูผูปวยในเรื่องการปฏิบัติตัวในเรื่องตาง ๆ ของผูปวยที่ใหเปนแบบการสอน
             แบบครั้งเดียว และสอนในเรื่องตาง ๆ มากมายทําใหผูปวยรับรูไดไมดี ประกอบกับปฏิกิริยา และ
             อารมณของผูปวยเบาหวานที่สวนใหญมีความรูสึกอึดอัด หงุดหงิด รําคาญ ทอแท และเบื่อหนาย

             ที่จะตองรับผิดชอบดูแลเอาใจใสเทาเปนพิเศษ รวมทั้งมีความรูสึกที่สูญเสียความเปนอยูแบบ
             สบายของชีวิต ปฏิกิริยาทางอารมณนี้อาจทําใหผูปวยเกิดพฤติกรรมการปลอยปละละเลย และไม
             สนใจตนเองได การใหความรูแกผูปวยเบาหวานเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลเทาจึงควรประเมิน
             การรับรู ความรู และพฤติกรรมการดูแลเทาเดิมของผูปวยกอนใหคําแนะนํา วามีพฤติกรรมใดที่
             ผูปวยยังไมไดปฏิบัติ หรือปฏิบัติไมเหมาะสม และซักถามถึงบริบท หรือแบบแผนการดําเนิน

             ชีวิตประจําวันวาอะไรเปนอุปสรรคที่ไมสามารถปฏิบัติการดูแลเทาอยางเหมาะสม และรวมกัน
             หาวิธีที่ผูปวยยอมรับไดในบริบทนั้น ๆ เพื่อการมีสุขภาพเทาที่ดี (หนึ่งฤทัย จันทรอินทร, อภิญญา
             ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลาธรรม, 2558)

                     ผลการศึกษาพฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวานในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ
             ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ เมื่อพิจารณารายดานพบรายละเอียด ดังนี้
                     ดานการดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนัง ผูปวยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลรักษา
             ความสะอาดของผิวหนังบริเวณเทาอยูในระดับปานกลาง (X̅ = 3.54, SD.=0.52) ผูปวยเบาหวาน

             จะลางเทาโดยฟอกตามซอกนิ้วเทา และสวนตาง ๆ ของเทาดวยสบูออน ๆ ทุกวันอยูในระดับดี
             (X̅ = 3.70, SD.=0.49) และภายหลังการลางเทา หรือเมื่อเทาเปยก ผูปวยจะใชผานุมซับเทา

             และซอกนิ้วใหแหง อยูในระดับปานกลาง (X̅ = 3.38, SD.=0.74) สอดคลองกับการศึกษาของ
             หนึ่งฤทัย จันทรอินทร, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลาธรรม (2558) ที่พบวาหลัง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62