Page 53 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 53

48  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

                                        การดูแลตนเองของผูปวยดวยโรคเบาหวาน
                                          โดยการประยุกตใชแนวคิดของ Orem

                                      1.  ดานการดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนัง
                                      2.  ดานการตรวจเทาเพื่อคนหาความผิดปกติ
                                      3.  ดานการปองกันการเกิดแผลที่เทา
                                      4.  ดานการสงเสริมการไหลเวียนเลือดบริเวณเทา
                                      5.  ดานการดูแลรักษาบาดแผล

                                        ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

                     เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่ 1 แบบบันทึกขอมูลทั่วไป

             ของผูปวยโรคเบาหวาน จํานวน 7 ขอ เปนขอคําถามแบบเลือกตอบ เกี่ยวกับ เพศ อายุ
             สถานภาพสมรส ระยะเวลาที่ทราบวาเปนโรคเบาหวาน ประวัติการสูบบุหรี่ การเขารับการรักษา
             ในโรงพยาบาลดวยเรื่องแผลที่เทา และการไดรับคําแนะนําการดูแลเทา สวนที่ 2 แบบสัมภาษณ
             พฤติกรรมการดูแลเทาของผูปวยโรคเบาหวาน ผูวิจัยใชแบบสัมภาษณพฤติกรรมการดูแลเทาของ

             ผูปวยโรคเบาหวาน ที่พัฒนาขึ้นโดยคุณลํายอง ทับทิมศรี (2541) ที่สรางขึ้นจากกรอบแนวคิด
             ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม ประกอบกับการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการดูแลเทา
             ของผูปวยเบาหวาน ประกอบดวยคําถามปลายปดเกี่ยวกับการดูแลเทาทั้งที่ถูกตอง และไม
             ถูกตอง 20 ขอ ครอบคลุม 5 ดาน ไดแก ดานการดูแลรักษาความสะอาดของผิวหนัง 2 ขอ ดาน

             การตรวจเทาเพื่อคนหาความผิดปกติ 1 ขอ ดานการปองกันกันการเกิดแผลที่เทา 10 ขอ ดาน
             การสงเสริมการไหลเวียนเลือดบริเวณเทา 4 ขอ และดานการดูแลรักษาบาดแผล 3 ขอ มีคําถาม
             เชิงลบ 2 ขอ ไดแกขอที่ 7 และ 19 คําตอบมี 5 ระดับ (Rating Scale) การแปลความหมายของ
             คะแนนพฤติกรรมการดูแลเทา แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ 3.67-5.00 หมายถึง ระดับดี 2.34-

             3.66 หมายถึง ระดับปานกลาง และ 1.00–2.33 หมายถึง ระดับต่ํา
                     การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ผูวิจัยไดนําแบบสัมภาษณไปใชกับผูปวย
              โรคเบาหวานที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกับกลุมตัวอยางแตไมใชกลุมตัวอยาง ในเขตพื้นที่
              โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองบอ จํานวน 30 คน หาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช

              สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient)  เทากับ 0.80
                     การพิทักษสิทธิ์ของกลุมตัวอยาง ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยไดอธิบาย
              วัตถุประสงค ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล ใหกลุมตัวอยางทราบ พรอมทั้งชี้แจงกับกลุม
              ตัวอยางในการเขารวมการวิจัยครั้งนี้ ผูเขารวมการวิจัยมีสิทธิตัดสินใจเขารวมหรือปฏิเสธไมเขา

              รวมการวิจัยไดโดยอิสระ ผูเขารวมการวิจัยมีสิทธิที่จะเพิกถอนการเขารับการวิจัยเมื่อใดก็ได และ
              การเพิกถอนดังกลาวยอมไมเปนเหตุใหผูเขารวมการวิจัยตองรับผิดชอบใด ๆ หรือเสียสิทธิ
              ประโยชนอื่นใดที่มีอยูทั้งสิ้น ขอมูลที่ไดจากผูเขารวมการวิจัยจะถือเปนความลับในการเก็บ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58