Page 58 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 58

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   53

                ทราบวาเปนเบาหวานผูปวยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลความสะอาดของผิวหนัง และเล็บ
                แตกตางจากเดิม โดยใหความสําคัญกับการดูแลเทามากขึ้น มีการปรับเปลี่ยนการดูแลเทาจัดหา

                อุปกรณ เปลี่ยนวิธีการทําความสะอาดผิวหนัง และเล็บ เพราะความตองการการดูแลตนเองที่
                จําเปนในภาวะเบี่ยงเบนทางดานสุขภาพ (health deviation self-care requisite; HDSCR)
                เปนความตองการที่สัมพันธกับความเบี่ยงเบนของโครงสราง และหนาที่ของบุคคล และ
                ผลกระทบของความผิดปกติตลอดจน วิธีการวินิจฉัยโรค และการรักษา (Orem, 2001 อางถึงใน
                พารุณี วงษศรี และทีปทัศน ชินตาปญญากุล, 2561)

                        ดานการตรวจเทาเพื่อคนหาความผิดปกติ ผูปวยเบาหวานมีพฤติกรรมดานการตรวจ
                เทาเพื่อคนหาความผิดภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (X̅=3.24, SD.=0.85) สอดคลองกับ
                การศึกษาของ อโนทัย ผลิตนนทเกียรติ (2560) ที่พบวาผูปวยโรคเบาหวานมีพฤติกรรมในการ

                ดูแลเทาโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูปวยเบาหวานคิดวามีนัดตรวจกับ
                เจาหนาที่อยูแลวไมมีอาการเจ็บเทา ไมเคยเปนแผลที่เทามากอน มีความคิดวาเปนแผลไมนาน
                แผลก็หายได จึงไมเห็นความจําเปน และความสําคัญของการตรวจเทาดวยตนเอง เพื่อปองกัน
                การเกิดแผลที่เทา (ณัตยา บูรณไทย, 2553) ดังนั้นพยาบาลควรประเมินการรับรูความจําเปนใน

                การดูแลเทาเมื่อเปนเบาหวาน และหาวิธีการเพิ่มการตระหนักรูถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได ให
                สุขศึกษาเกี่ยวกับการดูแลเทา ควบคุมปจจัยเสี่ยง และปรับพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง
                ใหตรวจเทาอยางนอยปละครั้ง และสงพบแพทยเฉพาะทางเปนระยะ เพื่อดูความกาวหนาของ

                รอยโรคที่เทาอยางตอเนื่อง (หนึ่งฤทัย จันทรอินทร, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย
                มาลาธรรม, 2558)
                        ดานการปองกันการเกิดบาดแผล ผูปวยเบาหวานมีพฤติกรรมดานการปองกันการเกิด
                บาดแผลภาพรวม อยูในระดับปานกลาง (X̅ = 3.00, SD.=0.40) พฤติกรรมปองกันการเกิด
                บาดแผลที่อยูในระดับดี คือ ผูปวยเบาหวานใสรองเทาทุกครั้งที่ออกจากบาน (X̅ = 3.86,

                SD.=0.43) พฤติกรรมปองกันการเกิดบาดแผลที่อยูในระดับปานกลาง คือ ตัดเล็บเทาดวยความ
                ระมัดระวัง โดยตัดในแนวตรง ไมสั้นจนชิดเนื้อ (X̅ = 3.47, SD.=0.68) มีการตรวจดูสภาพเล็บทุก
                ครั้งที่ตัดเล็บอยูในระดับดี (X̅ = 3.19, SD.=0.92) กอนใสรองเทาตรวจดูภายในรองเทาวามีเศษ

                หิน กรวด ทราย หรือวัตถุใด ๆ อยูภายใน พรอมทั้งเคาะกอนใส (X̅ = 3.07, SD.=0.91) การที่
                ผูปวยเบาหวานตรวจดูรองเทากอนสวม ระมัดระวังในการตัดเล็บเพื่อปองกันการเกิดแผลที่เทา
                เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้กลุมตัวอยางรอยละ 67.7 มีอายุ 60 ปขึ้นไป อาจมีปญหาเรื่องการ
                มองเห็นไม ผูปวยจึงใหญาติชวยตัดเล็บให สอดคลองกับการศึกษาของหนึ่งฤทัย จันทรอินทร,

                อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, และพรทิพย มาลาธรรม (2558) ที่พบวาผูสูงอายุที่เปนเบาหวาน ให
                ญาติหรือเจาหนาที่ตัดเล็บใหเนื่องจากเปนผูสูงอายุที่เปนเบาหวาน ตาอาจจะมองเห็นไมชัด หรือ
                มีปญหากมตัดเล็บเทาเองไมไดเนื่องจากมีภาวะอวนลงพุง การศึกษาครั้งนี้ผูปวยเบาหวานใส
                รองเทาแบบสวม (รอยละ 59.9) และแบบคีบ (รอยละ 36.8) มากกวาแบบหุมสน (รอยละ 3.3)
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63